กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอสม.เคาะประตูบ้านต้านโควิด-19 หมู่ที่ 8 ต.สำนักแต้ว
รหัสโครงการ 65-L5252-02-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่ม อสม.หมู่ที่ 8
วันที่อนุมัติ 29 เมษายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 5,100.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ 1.น.ส.วิไลพร เพ็ชเต็ม, 2. นางดรุณ หมอราช, 3.น.ส.อรวรรณ แววกระทู้, 4. น.ส.เจะรอกีเยาะ มามะ, 5.น.ส.ศิราณี บุญประกอบ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่ 8 ตำบลสำนักแต้ว อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.567,100.516place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด 19 ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้โรคไวรัสโคโรนา หรือ COVID-19 เป็นโรคร้ายแรง ทำให้เกิดการตื่นตระหนกของประชาชนทั่วโลก ซึ่งพบการระบาดหลายประเทศ ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคมอย่างรุนแรง สถานกา
100.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความเกี่ยวกับการดูแลและป้องกันตนเองและชุมชนในเรื่องโควิด-19 ได้อย่างถูกต้อง

-ร้อยละ 80 อสม.มีความรู้เกี่ยวกับการดูและป้องกันตนเองและชุมชนในเรื่องโควิด-19 ได้อย่างถูกต้อง

0.00
2 ข้อที่ 2. เพื่อให้อสม.แจ้ง กระจายข่าว แก่ประชาชนในพื้นที่ให้มีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันตนเองเกี่่ยวกับโควิด-19 และรายงานสถานการณ์ในพื้นที่แก่เจ้าหน้าที่ได้อย่างรวดเร็ว

-ร้อยละ 70 อสม.มีความกระตือรือร้นในการดูแลและป้องกันตนเองและชาวบ้านมากขึ้น

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณพ.ค. 65มิ.ย. 65ก.ค. 65ส.ค. 65ก.ย. 65
1 ประชุมวางแผนดำเนินการและจัดทำโครงการ(1 พ.ค. 2565-13 พ.ค. 2565) 0.00          
2 จัดหาวัสดุอุปกรณ์ ที่จำเป็นต่อการดำเนินโครงการ(16 พ.ค. 2565-20 พ.ค. 2565) 3,600.00          
3 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลและป้องกันตนเองและชุมชนในเรื่องโควิด-19(23 พ.ค. 2565-30 ก.ย. 2565) 1,500.00          
4 สรุปและประเมินผลโครงการ(23 พ.ค. 2565-30 ก.ย. 2565) 0.00          
รวม 5,100.00
1 ประชุมวางแผนดำเนินการและจัดทำโครงการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
2 จัดหาวัสดุอุปกรณ์ ที่จำเป็นต่อการดำเนินโครงการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 3,600.00 0 0.00
10 พ.ค. 65 จัดหาวัสดุอุปกรณ์ ที่จำเป็นต่อการดำเนินโครงการ 0 3,600.00 -
3 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลและป้องกันตนเองและชุมชนในเรื่องโควิด-19 กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 1,500.00 0 0.00
10 พ.ค. 65 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลและป้องกันตนเองและชุมชนในเรื่องโควิด-19 0 1,500.00 -
4 สรุปและประเมินผลโครงการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคโควิด-19
  2. เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนในเรื่องการป้องกันโรคโควิด-19
  3. ประชาชนได้รับวัคซีนป้องกันโควิด 19 อย่างครอบคลุมและทั่วถึง
  4. เฝ้าระวัง และควบคุม/ป้องกันโรคในพื้นที่ได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 พ.ค. 2565 15:45 น.