กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จอเบาะ


“ โครงการรณรงค์ตรวจหาภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานปีงบประมาณ2565 ”

ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอุสมัน กาเซ็ง

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ตรวจหาภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานปีงบประมาณ2565

ที่อยู่ ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2496-1-6 เลขที่ข้อตกลง 24/65

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ตรวจหาภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานปีงบประมาณ2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จอเบาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ตรวจหาภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานปีงบประมาณ2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ตรวจหาภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานปีงบประมาณ2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L2496-1-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 เมษายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จอเบาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังของระบบไร้ท่อที่พบบ่อยและเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญซึ่งสาเหตุสำคัญเนื่องมาจาก การมีพฤติกรรมการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมและระบบการทำงานของอวัยวะต่างๆภายในร่างกาย การสนับสนุนเพื่อป้องกันการเกิดโรคใหม่นั้นจึงมีความสำคัญ อนึ่งพฤติกรรมการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดนอกจากการทำงานระบบต่างๆภายในร่างกายที่ทำงานอย่างสมบูรณ์แล้วนั้น จำเป็นต้องมีการควบคุมปัจจัยอื่นๆร่วมด้วย กล่าวคือ พฤติกรรมด้านการควบคุมอาหาร ด้านการออกกำลังกาย รวมทั้งการจัดการกับความเครียดเป็นพฤติกรรมที่ควรส่งเสริมในผู้ที่มีความเสี่ยง และผู้ป่วยมีกิจกรรรมคลายเครียด ซึ่งจะส่งผลทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดลดลง และมีการปรับตัวด้านอารมณ์ได้อย่างเหมาะสม ซึ่งต้องกระทำอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องกล่าวคือ การควบคุมอาหารให้เหมาะสมทั้งปริมาณ พลังงาน ชนิดและสัดส่วนของอาหาร ที่ร่างกายควรได้รับในแต่ละวัน ผู้ที่มีการปฏิบัติตัวดีในการควบคุมอาหาร สามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดได้ร้อยละ ๓๑.๘ ส่วนในผู้ที่ปฏิบัติตัวไม่ดี จะมีการลดลงของระดับน้ำตาลในเลือดเพียงร้อยละ ๑๗.๑ การออกกำลังกายที่เหมาะสม และสม่ำเสมอ จะช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือดได้ และยังช่วยลดระดับน้ำตาลที่เกาะเม็ดเลือดแดง ช่วยลดน้ำหนักในผู้ที่เป็นเบาหวานชนิดที่ ๒ ที่อ้วน ทำให้ความต้องการอินซูลินลดลงและเป็นผลให้ลดขนาดการใช้ยาลงได้ นอกจากนี้ยังช่วยลดความเครียดทำให้จิตใจสดชื่นแจ่มใส แนวโน้มของโรคไม่ติดเชื้อเพิ่มขึ้น จากรายงานขององค์การอนามัยโลก พบว่าการเสียชีวิตจากโรคไม่ติดเชื้อ ร้อยละ ๕๘.๕ ของจำนวนผู้เสียชีวิตทั่วโลก และพบผู้ป่วยโรคไม่ติดเชื้อร้อยละ ๔๕.๙ ของผู้ป่วยทั้งหมด โรคไม่ติดเชื้อที่คาดว่าจะเป็นปัญหาในอนาคต ได้แก่ โรคหัวใจขาดเลือด โรคซึมเศร้า การบาดเจ็บจากการจราจร โรคหลอดเลือดสมอง เบาหวาน สำหรับในประเทศไทยพบว่า อัตราการตายด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจขาดเลือด ของประชากรไทย โดยโรคเบาหวานเท่ากับ ๗.๙๘ –๑๑.๐๘ ต่อแสนประชากร อัตราตายด้วยโรคความดันโลหิตสูง เท่ากับ ๓.๓ – ๕.๑ ต่อแสนประชากร และอัตราตายด้วยโรคหัวใจขาดเลือด ๓.๖ – ๑๔.๔ ต่อแสนประชากร จากสถิติแนวโน้มการป่วยด้วยโรคเบาหวานสูงในตำบลจอเบาะ พบว่า มีผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้นทุกปี ถึงแม้ว่าโรคเบาหวานนับวันจะมีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้นก็ตาม แต่ก็สามารถที่จะควบคุมและป้องกันการเกิดโรคใหม่ได้ หากกลุ่มเสี่ยงนั้นมีการดูแลตนเองที่ดีอย่างต่อเนื่องในด้านการควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย การใช้ยา การดูแลสุขภาพอนามัยของร่างกาย และการจัดการความเครียดได้อย่างเหมาะสม ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน เช่น โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมองตีบและแตก โรคไตวาย และตาบอด เป็นปัญหาสุขภาพที่มีความเสี่ยงเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ โดยที่ประชาชนจำนวนมากไม่รู้ตัวเองว่ามีความผิดปกติ ทำให้ไม่ได้รับการวินิจฉัย และการรักษาที่เหมาะสม จะทราบก็ต่อเมื่อเกิดผลแทรกซ้อนขึ้นแล้ว ซึ่งอาจเกิด เสียชีวิตฉับพลัน หรืออาจเกิดความพิการที่ไม่อาจแก้ไขได้  โดยเฉพาะผู้ป่วยเบาหวานที่ต้องสูญเสียการมองเห็น ผู้ป่วยเบาหวานมีความเสี่ยงตาบอดมากกว่าคนทั่วไปถึงร้อยละ ๒๕ จึงเป็นสาเหตุอันดับ ๒ ที่ทำให้คนไทยตาบอดรองจากต้อกระจก
    จากนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข กำหนดให้หน่วยงานสาธารณสุขทุกพื้นที่ ดำเนินการตรวจสุขภาพเชิงรุก โดยให้อาสาสมัครสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกระดับ ดำเนินการคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ในประชาชนอายุตั้งแต่ ๓๕ ปีขึ้นไป ทั่วประเทศ ให้ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ เพื่อจำแนกเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มสงสัยผู้ป่วยรายใหม่ กลุ่มป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน และกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน เพื่อจะได้วางกลยุทธ์เชิงรุกในการดูแลประชาชนอย่างต่อเนื่อง ให้ประชาชนได้รับทราบภาวะสุขภาพของตนเอง  และลดความเสี่ยง  รวมถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้มีสุขภาพแข็งแรง ดังนั้น การดูแลผู้ป่วยอย่างครบวงจร และเพื่อให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดการดำเนินงานป้องกันโรคไม่ติดต่อ ในการลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางตาในผู้ป่วย ลดลง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจอเบาะ ได้ตระหนักถึงปัญหาที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนทางตา-ไต-เท้า ของผู้ป่วยโรคเบาหวานดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ตรวจหาภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน  ปี ๒๕๖5 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเบาหวานโดยการตรวจจอประสาทตาตรวจภาวะการทำงานของไตและตรวจเท้า
  2. 2.เพื่อกระตุ้นให้ผู้ป่วยตระหนักต่อการดูแลสุขภาพของตนเองก่อนเกิดการเจ็บป่วยรุนแรงโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและทีมสหวิชาชีพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการรณรงค์ตรวจหาภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานปีงบประมาณ2565
  2. จัดอบรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 201
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจจอประสาทตาตรวจภาวะการทำงานของไตและตรวจเท้า 2. ผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีความรู้และทักษะมีความตระหนักในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเอง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรม

วันที่ 17 มีนาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.การดำเนินการของหน่วยงานเป็นกิจกรรมการส่งเสริมสนับสนุน และกระตุ้นการส่งเสริมสุขภาพ ควบคุมป้องกันโรคเชิงรุก โดยการรณรงค์ตรวจจอประสาทตา ตรวจภาวะการทำงานของไต และตรวจเท้า  ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน  และการประชาสัมพันธ์กิจกรรม  และความรู้ทุกรูปแบบ  ในระดับหมู่บ้าน / ชุมชน 2.จัดตรวจและให้ความรู้ในผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อน เรื่องการป้องกันภาวะ แทรกซ้อนของโรค 3. ให้มีการแต่งตั้ง คณะกรรมการดำเนินการ และคณะทำงาน ประกอบด้วยผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  ร่วมวางแผนด้านบริหารและด้านวิชาการ  เพื่อให้การดำเนินงานโครงการมีประสิทธิภาพ 4.รณรงค์ตรวจจอประสาทตา ตรวจภาวะการณ์ทำงานของไต ตรวจคลื่นหัวใจ ตรวจเท้าในผู้ป่วย HT/DM

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจจอประสาทตา ตรวจภาวะการทำงานของไต และตรวจเท้า
          2. ผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง มีความรู้และทักษะ มีความตระหนักในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเอง

 

201 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

.ผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจจอประสาทตา ตรวจภาวะการทำงานของไต และตรวจเท้า
    2. ผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง มีความรู้และทักษะ มีความตระหนักในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเอง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเบาหวานโดยการตรวจจอประสาทตาตรวจภาวะการทำงานของไตและตรวจเท้า
ตัวชี้วัด : -ผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจจอประสาทตาตรวจภาวะการทำงานของไตและตรวจเท้าร้อยละ 100
201.00

201

2 2.เพื่อกระตุ้นให้ผู้ป่วยตระหนักต่อการดูแลสุขภาพของตนเองก่อนเกิดการเจ็บป่วยรุนแรงโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและทีมสหวิชาชีพ
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีความรู้และทักษะมีความตระหนักในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเองร้อยละ 100
201.00 0.00

201

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 201 201
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 201 201
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเบาหวานโดยการตรวจจอประสาทตาตรวจภาวะการทำงานของไตและตรวจเท้า (2) 2.เพื่อกระตุ้นให้ผู้ป่วยตระหนักต่อการดูแลสุขภาพของตนเองก่อนเกิดการเจ็บป่วยรุนแรงโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและทีมสหวิชาชีพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการรณรงค์ตรวจหาภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานปีงบประมาณ2565 (2) จัดอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ตรวจหาภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานปีงบประมาณ2565

รหัสโครงการ 65-L2496-1-6 รหัสสัญญา 24/65 ระยะเวลาโครงการ 21 เมษายน 2565 - 30 กันยายน 2565

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการรณรงค์ตรวจหาภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานปีงบประมาณ2565 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2496-1-6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอุสมัน กาเซ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด