กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการครัวเรือนต้นแบบด้านการใช้สมุนไพรในการป้องกันและรักษาโรคความดันและเบาหวานประจำปี 2565
รหัสโครงการ L7255-02-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กรรมการชุมชนวัดคลองแห
วันที่อนุมัติ 1 มิถุนายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2565 - 31 สิงหาคม 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2565
งบประมาณ 64,575.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายยุทธศักดิ์ ดวงสุวรรณ
พี่เลี้ยงโครงการ นางดวงใจ อ่อนแก้ว
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2565 31 ธ.ค. 2565 64,575.00
รวมงบประมาณ 64,575.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
32.00
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
45.00
3 ร้อยละของประชาชนในชุมชนใช้สมุนไพรในการป้องกันโรค
30.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เนื่องจากพืชสมุนไพรเป็นสิ่งที่อยู่คู่คนไทยมานับพันปี แต่เมื่อยาแผนปัจจุบันเริ่มเข้ามามีบทบาทในบ้านเราสรรพคุณและคุณค่าของสมุนไพรไทยอันเป็นสิ่งที่เรียกว่า ภูมิปัญญาโบราณก็เริ่มถูกบดบังไปเรื่อยๆ และถูกทอดทิ้งไปในที่สุด ซึ่งความเป็นจริงคนส่วนใหญ่ก็พอรู้กันว่า สมุนไพรไทยเป็นสิ่งที่มีคุณค่าใช้ประโยชน์ได้จริง และใช้ได้อย่างกว้างขวางแต่เป็นเพราะใช้รักษาโรคแผนใหม่มานานมากจนวิชาการแพทย์แผนโบราณที่มีสมุนไพรเป็นยาถูกลืมจนต่อไม่ติด ทำให้เยาวชนรุ่นหลังๆ รู้จักสมุนไพรไทยได้น้อยมาก และแทบจะไม่รู้จักเลย ทั้งๆที่สมุนไพรเหล่านั้นอยู่ใกล้ๆตัวเรานี้เอง สมุนไพรเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของคนไทยเนื่องจากคนไทยสมัยก่อนมรการพึ่งพาตนเองด้านการรักษาพยาบาลสูง ด้วยเหตุที่สมัยก่อนยังไม่มีสถานบริการด้านสาธารณสุขบริการประชาชนอย่างทั่วถึงเหมือนปัจจุบัน เมื่อเกิดการเจ็บป่วยขึ้นในชุมชนหรือคนในครอบครัวจึงมีการนำสมุนไพรมาใช้ในการรักษาเบื้องต้น หรือรักษาพยาบาลกับหมอพื้นบ้านในหมู่บ้านตนเอง เพื่อบรรเทาอาการเจ็บป่วย โดยอาศัยภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมาหลายชั่วอายุ และปัจจุบันประเทศไทยได้มีการสนใจใช้ยาสมุนไพรมากขึ้น เนื่องจากการรักษาแพทย์แผนปัจจุบันบางครั้งมีผลข้างเคียงในบางโรคและมีขีดจำกัดในการรักษา เช่น โรคมะเร็ง ซึ่งต้องการมีแนวทางการรักษาด้วยการแพทย์ทางเลือกก็เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลของกระแสโรคและสามารถนำสมุนไพรในชุมชนมาใช้ในการป้องกันโรคได้อย่างถูกวิธี จากการตรวจคัดกรองปี 2562 ได้ลงคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยเจ้าหน้าที่และคณะทำงานเครือข่ายสาธารณสุขในเขตเทศบาลเมืองคลองแหกรรมการชุมชน ทั้ง 40 ชุมชน มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด จำนวน 3,800 คน มีผู้รับบริการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน 3,500 คน พบผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 7.14 ของผู้รับบริการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานทั้งหมด และพบผู้รับบริการกลุ่มเสี่ยง จำนวน 890 คน คิดเป็นร้อยละ 25.42 ของผู้รับบริการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานทั้งหมด มีผู้รับบริการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 3,600คน พบผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน55 คน คิดเป็นร้อยละ 15.27. ของผู้รับบริการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด และพบผู้รับบริการ กลุ่มเสี่ยง จำนวน 1,040 คน คิดเป็นร้อยละ 28.88 ของผู้รับบริการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานทั้งหมดพบว่า ชุมชนบ้านคลองแห มีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 15 คน มีกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 22 คน ดัชนีมวลกายเกิน 28 คน รอบเอวเกิน 28 คนทางชุมชนตระหนักถึงปัญหา จึงมีความคิดที่จะส่งเสริมให้ชุมชนโดยนำสมุนไพรที่ปลูกไว้บริเวณรอบๆ บ้าน มาใช้เกิดการดูแลสุขภาพโดยใช้เป็นยารักษาโรคความดัน เบาหวาน การควบคุมไขมัน โดยใช้ร่วมภูมิปัญญาท้องถิ่น ลดค่าใช้จ่ายในการรักษา และเกิดภูมิปัญญาพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ และลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ภาวะดัชนีมวลกายเกิน ในชุมชนต่อไปอย่างต่อเนื่อง และยั่งยืนโดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมือง คลองแห เนื่องจากพืชสมุนไพรเป็นสิ่งที่อยู่คู่คนไทยมานับพันปี แต่เมื่อยาแผนปัจจุบันเริ่มเข้ามามีบทบาทในบ้านเรา

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ประชาชนในชุมมีการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค

ประชาชนมีการใช้สมุนไพรและแพทย์ทางเลือกในการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น

30.00 35.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

32.00 28.00
3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

45.00 40.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 64,575.00 0 0.00
5 มิ.ย. 65 ประชุมคณะทำงานและวางแผนการดำเนินงาน 0 800.00 -
6 มิ.ย. 65 - 30 ส.ค. 65 ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ 0 600.00 -
12 มิ.ย. 65 ตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นและประเมินความรู้ทางด้านสมุนไพรกับการป้องกันโรค 0 500.00 -
3 ก.ค. 65 กิจกรรมสมุนไพรกับการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมัน ) ชุมชนบ้านคลองแหปีงบประมาณ 2565 0 55,500.00 -
4 ก.ค. 65 ชุมชนวัดคลองแหโภชนาการสมวัยเหมาะสมกับโรคด้วยอาหารและสมุนไพร 0 5,675.00 -
30 ส.ค. 65 กิจกรรมครัวเรือนต้นแบบด้านการใช้สมุนไพรในการป้องกันและรักษาโรคความดันและเบาหวาน 0 1,500.00 -
31 ส.ค. 65 สรุปโครงการฉบับสมบูรร์ส่งกองทุนหลักประกันสุขภาพ 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการใช้สมุนไพรป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมัน ) 2.ผู้เข้าร่วมโครงการมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น 3.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการทานอาหารเพื่อสุขภาพ โภชนาการที่เหมาะสมกับโรคและวัย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 พ.ค. 2565 13:03 น.