กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมตรวจแนะนำด้านกายภาพและประเมินสุขาภิบาลในตลาด27 พฤษภาคม 2565
27
พฤษภาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ตรวจแนะนำด้านกายภาพและประเมินสุขาภิบาลในตลาด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ดำเนินการตรวจแนะนำด้านกายภาพและประเมินสุขาภิบาลในตลาด

กิจกรรมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการตรวจสอบคุณภาพอาหารแก่ประชาชนและสรุปผลโครงการ27 พฤษภาคม 2565
27
พฤษภาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการตรวจสอบคุณภาพอาหารแก่ประชาชน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการตรวจสอบคุณภาพอาหารแก่ประชาชน

วิเคราะห์ข้อมูลผลการตรวจสอบคุณภาพ พร้อมให้คำแนะนำการแก้ไขปัญหาแก่ผู้จัดการตลาด และมอบสัญลักษณ์แสดงว่าป้ายร้านปลอดภัยจากสารอันตราย27 พฤษภาคม 2565
27
พฤษภาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลผลการตรวจสอบคุณภาพ พร้อมให้คำแนะนำการแก้ไขปัญหาแก่ผู้จัดการตลาด และมอบสัญลักษณ์แสดงว่าป้ายร้านปลอดภัยจากสารอันตราย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลผลการตรวจสอบคุณภาพ พร้อมให้คำแนะนำการแก้ไขปัญหาแก่ผู้จัดการตลาด และมอบสัญลักษณ์แสดงว่าป้ายร้านปลอดภัยจากสารอันตราย และเผยแพร่ข้อมูลประชาสัมพันธ์ผ่านทางช่องทางสื่อสังคมออนไลน์

ตรวจสอบคุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรมอนามัย พารามิเตอร์ในการตรวจ27 พฤษภาคม 2565
27
พฤษภาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ได้ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารในตลาดสดในเขตเทศบาลนครตรัง ทั้ง 6 ตลาด เพื่อตรวจสอบคุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรมอนามัยโดยเจ้าหน้าที่จากกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
และตรวจวิเคราะห์ทางเคมี ในตัวอย่างอาหารด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นเพื่อหาวัตถุเจือปนที่เป็นพิษทำให้อันตรายต่อสุขภาพ 7 ชนิด ได้แก่ บอแรกซ์ ฟอร์มาลีน สารฟอกขาว สารกันรา ยาฆ่าแมลง สารเร่งเนื้อแดง สารโพลาร์ และตรวจวิเคราะห์ทางชีวภาพ ในตัวอย่างอาหารด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นในการตรวจสอบการปนเปื้อนแบคทีเรียในภาชนะ มือผู้สัมผัสอาหาร และอาหารปรุงสุก โดยชุดหาเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (SI-2)

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

โดยผลการวิเคราะห์คุณภาพอาหารเป็นดังต่อไปนี้ 1. สุ่มเก็บตัวอย่างทั้งหมด 289 ตัวอย่าง โดยผ่านเกณฑ์ 247 ตัวอย่าง (ร้อยละ 85.47) ไม่ผ่านเกณฑ์ 42 ตัวอย่าง (ร้อยละ 14.53) โดยตัวอย่างอาหารที่ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจ ได้แก่สารฟอร์มาลีน เจอใน ปลาหมึกกรอบ(2ตัวอย่าง)และหมึกดำ(1 ตัวอย่าง) สารเคมีตกค้างในผักและผลไม้ เจอในผักคะน้า (2ตัวอย่าง), มะเขือเปราะ (3ตัวอย่าง), ผักกาดหอม (2ตัวอย่าง),พริกชี้ฟ้า (1ตัวอย่าง),บล็อกโคลี่ (1ตัวอย่าง),ต้นหอม (1ตัวอย่าง),ผักชี (1ตัวอย่าง),ถั่วฝักยาว (1ตัวอย่าง),ผักแขนง (2ตัวอย่าง)และผักโขม(1ตัวอย่าง) และการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย เจอในตัวอย่างอาหารปรุงสุก (2 ตัวอย่าง),น้ำแข็งบริโภค (8 ตัวอย่าง), ผักเครื่องเขียง (2 ตัวอย่าง), มือผู้สัมผัสอาหาร (11 ตัวอย่าง) ทั้งนี้ผู้รับผิดชอบโครงการได้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการตรวจวิเคราะห์และแนวทางการป้องกันและหลีกเลี่ยงการได้รับการปนเปื้อนสารอันตรายที่สามารถประยุกต์ใช้ได้ชีวิตประจำวัน

กิจกรรมรณรงค์สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการสุขาภิบาลอาหารภายใต้สถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ในตลาดสดเขตเทศบาลนครตรัง จำนวน 6 ครั้ง (ตลาดละ 1 ครั้ง)27 พฤษภาคม 2565
27
พฤษภาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ดำเนินการลงพื้นที่ ณ ตลาดสดเทศบาล, ตลาดท่ากลาง, ตลาดนัดใบกล้วย, ตลาดกองทุน, ตลาดสะพานวังยาว และตลาดนัดชินตา โดยได้ประชาสัมพันธ์และให้คำแนะนำด้านความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการสุขาภิบาลอาหารในตลาด ตามกฎกระทรวงว่าด้วยสุขลักษณะของตลาด พ.ศ.2551

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ดำเนินการลงพื้นที่ ณ ตลาดสดเทศบาล, ตลาดท่ากลาง, ตลาดนัดใบกล้วย, ตลาดกองทุน, ตลาดสะพานวังยาว และตลาดนัดชินตา โดยได้ประชาสัมพันธ์และให้คำแนะนำด้านความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการสุขาภิบาลอาหารในตลาด ตามกฎกระทรวงว่าด้วยสุขลักษณะของตลาด พ.ศ.2551, ข้อควรปฏิบัติเกี่ยวกับสินค้าและแผงจำหน่ายสินค้าของผู้ขายและผู้ช่วยขาย, สุขอนามัยส่วนบุคคลผู้ขายของและผู้ช่วยขายของในตลาด, การปฏิบัติให้ถูกสุขลักษณะในการจำหน่าย ทำ ประกอบ ปรุง เก็บหรือสะสมอาหาร และการรักษาความสะอาดของภาชนะ น้ำใช้และของใช้ต่างๆ ตามข้อ ๒๔ และข้อ 25 ของกฎกระทรวงว่าด้วยสุขลักษณะของตลาด พ.ศ.2551 พร้อมทั้งได้แนะนำการแนวทางการปฏิบัติเพื่อให้ตลาดสดปลอดภัยจากโรคโควิด-19