กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรวมใจเป็นหนึ่งป้องกันภัยร้ายโรคไข้เลือดออกในชุมชน ปี 2565
รหัสโครงการ 2565-L7161-2-8
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนสวนผัก
วันที่อนุมัติ 9 มิถุนายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2565
งบประมาณ 40,700.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางนภษร วงศ์วัฒนากุล
พี่เลี้ยงโครงการ -
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 5.803,101.009place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

อสม.ชุมชนสวนผัก จึงได้จัดทำกิจกรรมโครงการรวมใจเป็นหนึ่งป้องกันภัยร้ายโรคไข้เลือดออกในชุมชน ปี 2565 ชึ้น เพื่อให้ความรู้เรื่องไข้เลือดออก เฝ้าระวัง และรับมือกับสถานการณ์การแพร่ระบาด กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ที่จะส่งผลให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่อยู่ปลอดภัยจากไข้เลือดออกมากขึ้น เพราะถึงแม้ว่าเรากำลังให้ความสนใจในสถานการณ์ และเฝ้าระวังโรค COVID-19 ก็ไม่ควรละลายเลยโรคประจำถิ่นอย่างไข้เลือดออกที่มีการระบาดต่อเนื่องทุกปี

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวโรคไขเเลือดออกให้บุคคลครอบครัว ชุมชน ให้มีศักยาภาพในการช่วยกันดูแล และลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกเพื่อลดจำนวน และอัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในประชาชนทุกกลุ่มวัย

ประชากรทุกกลุ่มวัยในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก มีศักยภาพดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้

2 เพื่อความครอบคลุมของการรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชนตามเป้าหมาย ดังนี้ 2.1 ในชุมชนลดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในทุกครอบครัวเรือน โดยให้มีจำนวนบ้านที่พบลูกน้ำยุงลายไม่เกินร้อยละ 10 (ค่า HI ไม่เกิน 10)

ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI,CI) ลดลง ร้อยละ 80 ของชุมชน

3 เพื่อสร้างความร่วมมือในชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

ชุมชนร่วมมือในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันไข้เลือดออก

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณมิ.ย. 65ก.ค. 65ส.ค. 65ก.ย. 65
1 อบรมโครงการรวมใจเป็นหนึ่งป้องกันภัยร้ายโรคไข้เลือดออกในชุมชน ปี 2565(21 ส.ค. 2565-25 ก.ย. 2565) 40,700.00        
รวม 40,700.00
1 อบรมโครงการรวมใจเป็นหนึ่งป้องกันภัยร้ายโรคไข้เลือดออกในชุมชน ปี 2565 กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 220 40,700.00 2 40,700.00
21 ส.ค. 65 อบรมโครงการรวมใจเป็นหนึ่งป้องกันภัยร้ายโรคไข้เลือดออกในชุมชน ปี 2565 100 37,700.00 37,700.00
28 ส.ค. 65 รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย(1) 30 0.00 -
4 ก.ย. 65 รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย(2) 30 0.00 -
11 ก.ย. 65 รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย(3) 30 0.00 -
25 ก.ย. 65 รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย(4) 30 3,000.00 3,000.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนในชุมชนลดลง 2.ประชาชนทุกกลุ่มวัยในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก มีศักยภาพดูแลและป้องกันตนเองจากของโรคไข้เลือดออกได้ 3.มีความร่วมมือของชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก 4.แหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน ลดลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 มิ.ย. 2565 14:54 น.