กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ ลดขยะ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม
รหัสโครงการ 65-L4156-1-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกะรอ
วันที่อนุมัติ 11 พฤษภาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ธันวาคม 2565
งบประมาณ 35,040.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายบือราเฮง เจ๊ะมู
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.535,101.576place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 2 ส.ค. 2565 2 ส.ค. 2565 35,040.00
รวมงบประมาณ 35,040.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 192 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ขยะมูลฝอยเป็นตัวการสำคัญประการหนึ่ง ที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น มลพิษทางน้ำมูลพิษทางเดินมูลพิษทางอากาศ ขยะยังเป็นต้นเหตุหนึ่งของการเกิดโรค เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของหนูและแมลงวันซึงเป็นพาหะนำโรคติดต่อทำให้มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน คุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ และเป็นปัญหาในการบริหารจัดการของประเทศ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่เร่งมาตรการในการแก้ปัญหาขยะมูลฝอยที่นับวันจะเพิ่มมากขึ้น ตามการเจริญเติบโตของเมือง และการขยายตัวทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ทำให้เป็นภาระหน้าที่ในการบริหารจัดการและการแก้ไขปัญหา พื้นที่ตำบลเกะรอ เป็นพื้นที่ที่มีความเจริญและเริ่มขยายตัวเป็นชุมชนเมืองมากยิ่งขึ้น มีแหล่ม ชุมชน ร้านค้า และตลาดนัดในการจับจ่ายชื้อขาย ทำให้มีปริมาณขยะเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วยมีแนวโน้นจะเป็นปัญหาขยะตามมา ทางออกหนึ่งในการแก้ไขปัญหาในระยะยาวคือการลดปริมาณขยะจากแหล่มกำเนิด โดยคำนึงถึงความจำเป็นที่ต้องใช้อย่างรู้คุณค่า ส่งเสริมให้มีการคัดแยกขยะก่อนนำไปทิ้ง สร้างจิตสำนึกและความตระหนักต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อสุขภาพประชาชนและสิ่งแวดล้อม จึงจัดทำ โครงการคัดแยกขยะ ในชุมชนปีงบประมาณ พ.ศ.2565 โดยการมีส่วนร่วมชุมชน เพื่อการขยะมูลฝอยที่เหมาะสมสามารถลดปริมาณขยะมูลฝอยจากแหล่มกำเนิดได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อตอบสนองนโยบายในการจัดการขยะมูลฝอยโดยการคัดแยกขยะจากแหล่มกำเนิด สร้างวินัยและสร้างจิตสำนึกให้ประชาชน ให้มีส่วนในการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง

ตัวแทนครัวเรือนเข้ารับการอบรมให้ความรู้ความเข้าใจ ในการจัดการขยะ ที่ถูกต้อง ร้อยละ 100

100.00
2 2.เพื่อให้ประชาชนมีสิ่งแวดล้อมที่ดี ส่งผลให้มีสุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ทีดีขึ้น

ครัวเรือนในตำบลเกะรอมีการคัดแยกขยะถูกต้องร้อยละ 80

100.00
3 3.เพื่อเป็นแนวทางในการลดปริมาณขยะจากต้นทาง โดยให้มีคัดแยกขยะ ในชุมชน

ครัวเรือนในตำบลเกะรอมีการคัดแยกขยะถูกต้องร้อยละ 80

100.00
4 เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน บ้านเมืองสะอาดเรียบร้อยเป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน

ครัวเรือนในตำบลเกะรอมีการคัดแยกขยะถูกต้องร้อยละ 80

100.00
5 เพื่อให้มีการจัดตั้งกลุ่มกิจกรรมเพื่อนำขยะที่คัดแยกแล้วไปจำหน่าย

ตัวแทนครัวเรือนเข้ารับการอบรมให้ความรู้ความเข้าใจ ในการจัดการขยะ ที่ถูกต้อง ร้อยละ 100

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณต.ค. 64พ.ย. 64ธ.ค. 64ม.ค. 65ก.พ. 65มี.ค. 65เม.ย. 65พ.ค. 65มิ.ย. 65ก.ค. 65ส.ค. 65ก.ย. 65
1 อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะมูลฝอย(5 ก.ย. 2565-8 ก.ย. 2566) 35,050.00                        
รวม 35,050.00
1 อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะมูลฝอย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 192 35,050.00 1 35,040.00
5 - 8 ก.ย. 65 อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะมูลฝอย 192 35,050.00 35,040.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ตอบสนองนโยบายในการจัดการขยะมูลฝอยโดยการคัดแยกขยะจากแหล่งกำเนิด สร้างวินัย และ สร้างจิตสำนึกให้ประชาชน ให้มีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง 2.ประชาชนมีสิ่งแวดล้อมที่ดี ส่งผลให้มีสุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น 3.เป็นแนวทางในการลดปริมาณขยะจากต้นทาง โดยให้คัดแยกขยะ ในชุมชน 4.สามารถลดปริมาณขยะมูลฝอยทีเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน บ้านเมืองสะอาดเรียนร้อยเป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 มิ.ย. 2565 14:14 น.