กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา


“ โครงการรู้ก่อนเหตุ แก้ก่อนเกิดโรคไข้เลือดออก ปี 2565 ”

ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางรอมหล๊ะ เสาะหา

ชื่อโครงการ โครงการรู้ก่อนเหตุ แก้ก่อนเกิดโรคไข้เลือดออก ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5184-02-21 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรู้ก่อนเหตุ แก้ก่อนเกิดโรคไข้เลือดออก ปี 2565 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้ก่อนเหตุ แก้ก่อนเกิดโรคไข้เลือดออก ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรู้ก่อนเหตุ แก้ก่อนเกิดโรคไข้เลือดออก ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5184-02-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,675.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขของตำบลบ้านนา อำเภอจะนะจังหวัดสงขลาและเป็นโรคติดต่อประจำถิ่นที่แพร่ระบาดได้รวดเร็ว เนื่องจากเป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค มีการระบาดตลอดปีและพบมากในฤดูฝน จากการสำรวจข้อมูลการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของโรคไข้เลือดออกในปีที่ผ่านมา พบว่าประชากรส่วนใหญ่ยังไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการกำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายรวมไปถึงการดูแลสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ส่งผลให้อัตราป่วยของโรคไข้เลือดออกไม่ลดลง ซึ่งเป็นโรคที่พบบ่อยและเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตจากข้อมูลรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ในตำบลบ้านนา ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม2565 – 23 มิถุนายน 2565 พบผู้ป่วย จำนวน 8 ราย โดยเป็นผู้ป่วย หมู่ 2 จำนวน 1 ราย ,หมู่ 6 จำนวน 1 ราย ,หมู่ 7 จำนวน 4 ราย ,และ หมู่ 9 จำนวน 2 ราย (จากข้อมูลงานระบาดวิทยาอำเภอจะนะ ปี 2565 ) มีแนวโน้มการระบาดที่เพิ่มมากขึ้น และจากการสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายของหมู่ที่ 4 พบว่า ดัชนีลูกน้ำในบ้าน (House Index) คือ จำนวนบ้านที่สำรวจทั้งหมด 206 หลังคาเรือนพบลูกน้ำยุงลาย 116 หลังคาเรือน คิดเป็นร้อยละ 56.31 ซึ่งเกินเกณฑ์มาตรฐาน(รายงานแบบสำรวจลูกน้ำยุงลายของอสม. เดือน มิถุนายน 2565) เพราะฉะนั้นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่ดีที่สุด คือ ไม่มียุง การที่จะทำให้ไม่มียุง ต้องกำจัดต้นเหตุของการเกิดยุง นั่นคือการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายรอบๆบริเวณบ้าน ตามมาตรการ “3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค” คือ 1. เก็บบ้านให้ปลอดโปร่ง ไม่มีบริเวณอับทึบให้ยุงลายเกาะพัก 2. เก็บขยะที่อยู่บริเวณบ้าน เก็บเศษภาชนะที่ไม่ต้องการทิ้งไว้ในถุงดำมัดปิดปากถุง และนำไปทิ้งลงถังขยะ เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง และ 3. เก็บน้ำ ภาชนะที่ใส่น้ำเพื่ออุปโภคบริโภค ต้องปิดฝาให้มิดชิด ล้างคว่ำภาชนะไม่ใช้ และเปลี่ยนน้ำในกระถางหรือแจกันทุกสัปดาห์ ใส่ทรายกำจัดลูกน้ำหรือปล่อยปลากินลูกน้ำในภาชนะที่ปิดฝาไม่ได้ ป้องกันไม่ให้ยุงลายวางไข่ และเน้นการป้องกันไม่ให้ยุงกัด โดยทายากันยุง และนอนในมุ้ง ซึ่งสามารถป้องกันได้ 3 โรค คือ 1. โรคไข้เลือดออก 2. โรคติดเชื้อไวรัสซิกา 3. โรคไข้ปวดข้อยุงลายหรือโรคชิคุนกุนยา ด้วยเหตุผลดังกล่าว ชมรมอาสาสมัครสารณสุขประจำหมู่ที่ 4 ตำบลบ้านนา ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ รู้ก่อนเหตุ แก้ก่อนเกิดโรคไข้เลือดออก ขึ้นในปีงบประมาณ 2565 โดยขอรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนาเป็นเงินจำนวน 21,675 บาท (สองหมื่นหนึ่งพันหกร้อยเจ็ดสิบห้าบาทถ้วน)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องไข้เลือดออกเพิ่มมากขึ้น
  2. 2. เพื่อสร้างความร่วมมือ และส่งเสริมการทำงานร่วมกับชุมชนและภาคีเครือข่ายในการแก้ไขปัญหา โรคไข้เลือดออก
  3. 3. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของหมู่ที่ 4 บ้านโคกเค็ต ไม่ให้เกินเป้าหมายที่กำหนด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม ประชุมคณะทำงาน
  2. 2. กิจกรรม อบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและวิธีการเตรียมความพร้อมเมื่อเกิดผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้าน ช่วงเช้าเวลา 08.00 - 12.00 น.
  3. 3. กิจกรรม พัฒนาสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ช่วงบ่าย 13.00 -16.30 น.
  4. 4. กิจกรรม เดินรณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน จำนวน 4 ครั้ง
  5. 5. สรุปกิจกรรมและประเมินผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนเกิดความตระหนักและมีส่วนร่วมในการดำเนินการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง 2.จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในหมู่ที่ 4 บ้านโคกเค็ต ลดลงตามเกณฑ์ที่กำหนด 3.จำนวนบ้านที่พบลูกน้ำยุงลายลดลงไม่เกินเกณฑ์ที่กำหนดร้อยละ 10 ของบ้านที่สำรวจ (ค่า HI) หลังจากจัดโครงการ 4.ประชาชนมีความพึงพอใจต่อโครงการ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องไข้เลือดออกเพิ่มมากขึ้น
ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องไข้เลือดออกเพิ่มขึ้นมากกว่า ร้อยละ 90
0.00

 

2 2. เพื่อสร้างความร่วมมือ และส่งเสริมการทำงานร่วมกับชุมชนและภาคีเครือข่ายในการแก้ไขปัญหา โรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 2 ชุมชนให้ความร่วมมือในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ชีวภาพและเคมีมากกว่าร้อยละ 80
0.00

 

3 3. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของหมู่ที่ 4 บ้านโคกเค็ต ไม่ให้เกินเป้าหมายที่กำหนด
ตัวชี้วัด : 3 จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของหมู่ที่ 4 บ้านโคกเค็ตลดลงไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องไข้เลือดออกเพิ่มมากขึ้น (2) 2. เพื่อสร้างความร่วมมือ และส่งเสริมการทำงานร่วมกับชุมชนและภาคีเครือข่ายในการแก้ไขปัญหา        โรคไข้เลือดออก (3) 3. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของหมู่ที่ 4 บ้านโคกเค็ต ไม่ให้เกินเป้าหมายที่กำหนด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม  ประชุมคณะทำงาน (2) 2. กิจกรรม  อบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและวิธีการเตรียมความพร้อมเมื่อเกิดผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้าน ช่วงเช้าเวลา 08.00 - 12.00 น. (3) 3. กิจกรรม พัฒนาสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ช่วงบ่าย 13.00 -16.30 น. (4) 4. กิจกรรม เดินรณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน จำนวน 4 ครั้ง (5) 5. สรุปกิจกรรมและประเมินผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรู้ก่อนเหตุ แก้ก่อนเกิดโรคไข้เลือดออก ปี 2565 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5184-02-21

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรอมหล๊ะ เสาะหา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด