กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง (ประเภทที่ 1)
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนกาหลง
วันที่อนุมัติ 25 กรกฎาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 21,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางนารีรัตน์ เบ็ญสลาหมัน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.953,100.03place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 147 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากการตรวจสุขภาพประจำปี ๒๕๖๕ ผู้ป่วยคลินิกโรคเรื้อรังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ควนกาหลง จำนวน ๒๒๔ คน กลุ่มที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ จำนวน ๕๔ คน (ร้อยละ ๒๔.๑๐) มีผลการทำงานของไตผิดปกติ จำนวน ๓๕ คน (ร้อยละ ๑๕.๖๒) และภาวะไขมันในเลือดสูงกว่าเกณฑ์ จำนวน ๕๘ คน (ร้อยละ ๒๕.๘๙) ซึ่งผู้ป่วยกลุ่มนี้หากไม่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม มีแนวโน้มเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรค จอประสาทตาเสื่อม ไตวายเรื้อรัง (CKD) โรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) แตก ตีบ ภาวะอัมพฤกษ์ อัมพาต แผลเรื้อรัง และการถูกตัดอวัยวะ ภาวะแทรกซ้อนเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ตลอดจนค่าใช้จ่ายสาธารณสุขโดยรวม       ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนกาหลง ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว และตระหนักถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมได้ จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ระดับความดันโลหิต และระดับไขมันในเลือดได้อย่างเหมาะสม เป้าหมายเพื่อชะลอ หรือลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วย ตามแนวทาง ๓ อ ๒ ส เพื่อให้มีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น

๑. ร้อยละ ๘0 ของกลุ่มผู้ป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น การเกิดภาวะไตวาย เส้นเลือดในสมองแตก ตีบ ตัน อัมพฤกษ์ อัมพาตได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 ส.ค. 2565 13:04 น.