กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการใส่ใจสุขภาพห่างไกลเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและหัวใจตำบลปะโด ปี 2565
รหัสโครงการ 65-L3004-01-16
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะโด
วันที่อนุมัติ 10 สิงหาคม 2022
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 สิงหาคม 2022 - 30 กันยายน 2022
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2022
งบประมาณ 31,260.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมนัส ศรีบุญเอียด
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะโด อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.666,101.359place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ส.ค. 2022 30 ก.ย. 2022 31,260.00
รวมงบประมาณ 31,260.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 210 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาสาธารณสุขได้เปลี่ยนแปลงไป โรคติดเชื้อซึ่งเคยเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญในอดีตได้ลดระดับความสำคัญลง  ในขณะที่โรคไม่ติดต่อกลับเป็นปัญหาที่สำคัญเพิ่มขึ้น  จะเห็นได้ว่า  อัตราป่วยโรคเบาหวาน มีแนวโน้มสูงขึ้น ซึ่งโรคเบาหวานพบได้ในประชากรไทยตั้งแต่ร้อยละ ๓ ถึง ๑๐  แล้วแต่พื้นที่และภาวะโภชนาการ โรคนี้พบได้ทั้งสองเพศ มักพบในวัยกลางคน  แต่สามารถพบได้ตั้งแต่เด็กจนถึงผู้เข้าสู่วัยทอง  สำหรับในอดีตที่ประเทศไทยยังเป็นประเทศด้อยพัฒนา โรคเบาหวานจะพบได้ ประมาณร้อยละ ๑-๔ เท่านั้น  และในปัจจุบันเป็นปัญหาสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข  ที่ต้องแก้ไขโดยเร่งด่วนและเป็นโรคที่มีความสัมพันธ์กัน  ซึ่งมักจะเกิดในคนอายุมากกว่า ๓๕ ปีขึ้นไป  มารับการตรวจรักษาเมื่อมีอาการรุนแรง  และเกิดภาวะแทรกซ้อนทั้งนี้เนื่องจากการขาดความตระหนักในการดูแลสุขภาพร่างกาย    พฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสม การเกิดภาวะเครียดในชีวิตประจำวัน ขาดการออกกำลังกาย  ซึ่งส่งผลก่อให้เกิดโรคดังกล่าวข้างต้น  ดังนั้น การลดปัญหากลุ่มโรคเบาหวานต้องดูแลป้องกันร่วมกันอย่างมีระบบและคุณภาพอย่างต่อเนื่อง โดยการสำรวจกลุ่มเป้าหมายคัดกรอง วินิจฉัยโรคตั้งแต่ระยะเริ่มแรกซึ่งจะมีผลต่อการรักษา  ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและการฟื้นฟูสภาพ จึงจะสามารถลดปัญหากลุ่มโรคดังกล่าวลงได้     สำหรับในปี ๒๕64 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะโดมีประชากรที่มีอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป กลุ่มประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป  จำนวน ๑,331 คนที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงจำนวน 1,228 คน คิดเป็นร้อยละ 92.26 พบว่า มีภาวะเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน  26  คน คิดเป็นร้อยละ 2.12 มีภาวะสงสัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน  75  คน คิดเป็นร้อยละ 6.11 พบผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 231 คน คิดเป็นร้อยละ 18.81 และ กลุ่มประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป  จำนวน ๑,506 คน ที่ได้รับการคัดกรองเบาหวาน จำนวน 1,373 คน คิดเป็นร้อยละ 91.16 มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน 126 คน คิดเป็นร้อยละ 9.46 มีภาวะสงสัยเป็นโรคเบาหวานจำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 9.46 พบผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน 72  คน คิดเป็นร้อยละ 6.07
    ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะโด  ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว ของโรค จึงได้จัดทำ “โครงการการเฝ้าระวังโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และหัวใจตำบลปะโด ปี 2565”  เพื่อกลุ่มเสี่ยงกลับมาเป็นเป็นกลุ่มปกติหรือไม่ให้เป็นโรคเรื้อรังและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ยั่งยืนต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณส.ค. 65ก.ย. 65
1 กิจกรรมที่ ๑ การตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง - ค้นหา และคัดดกรองประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป กิจกรรมที่ ๒ อบรมผู้ที่ปัจจัยเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง(15 ส.ค. 2022-30 ก.ย. 2022) 0.00    
รวม 0.00
1 กิจกรรมที่ ๑ การตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง - ค้นหา และคัดดกรองประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป กิจกรรมที่ ๒ อบรมผู้ที่ปัจจัยเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ข้อมูลพื้นฐานด้านสุขภาพ ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของประชาชน 2.วัยผู้ใหญ่มีความรู้ ทัศนคติ และการตรวจสุขภาพ 3.ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคที่ลุกลามหรือมีภาวะแทรกซ้อน 4.เกิดความร่วมมือที่ดีระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับประชาชน และองค์ภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชน เป็นต้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 ส.ค. 2022 15:57 น.