กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด


“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาโหนด ประจำปี 2566 ”

ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางวิภาดา เต็มยอด กรรมการและเลขานุการกองทุน

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาโหนด ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-3357-04-001 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาโหนด ประจำปี 2566 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาโหนด ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาโหนด ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 66-3357-04-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 114,211.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
  3. เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
  4. เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี
  5. เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา
  6. เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน ครั้งที่ 1
  2. กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1
  3. การบริหารจัดการกองทุน
  4. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการที่ดีแก่ประชาชนและหน่วยงานที่รับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
  5. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน ครั้งที่ 2
  6. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุน และอนุกรรมการ
  7. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน ครั้งที่ 3
  8. กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2
  9. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน ครั้งที่ 4
  10. การจัดทำแผนสุขภาพตำบล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
คณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน ผู้รับทุน 60

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาโหนด มีการบริหารจัดการกองทุนที่มีคุณภาพ การดำเนินงานของกองทุนเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด ดังนี้
1. กองทุน สามารถให้การสนับสนุนงบประมาณแก่ผู้รับทุนได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ของเงินรายรับกองทุนประจำปี
2. คณะกรรมการกองทุน อนุกรรมการ ได้รับการพัฒนาศักยภาพร้อยละ 100
3. จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรม และหน่วยงานภายนอกได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนไม่น้อยกว่า 12 กลุ่ม
4. มีจำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จภายในปีงบประมาณ ไม่น้อยกว่า 5 โครงการ
5. มีจำนวนโครงการที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในกำหนดเวลา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของโครงการทั้งหมด
6. มีการประชุมคณะกรรมการกองทุนจำนวน 4 ครั้ง ครบตามประกาศ
7. ข้อเสนอโครงการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง และแผนการดูแลรายบุคคล ได้รับอนุม้ติร้อยละ 100
8. โครงการที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุน ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการกลั่นกรองโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1

วันที่ 11 ตุลาคม 2565 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบข้อเสนอการจัดบริการฯ และแผนการดูแลรายบุคคลของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการในชุมชนเทศบาลตำบลนาโหนด ในวันที่ 11 ตุลาคม 2565 ณ ห้องประชุม ชั้น 2 สำนักงานเทศบาลตำบลนาโหนด มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 11 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
มีคณะอนุกรรมการและผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม จำนวน 11 คน
ที่ประชุมมีมติอนุมัติข้อเสนอการจัดบริการของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการในชุมชน จำนวน 3 โครงการ จำนวน 119 คน งบประมาณ 714,000 บาท ดังนี้
ข้อเสนอการจัดบริการสำหรับผู้สูงอายุและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ในเขตบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาโหนด จำนวน 48 คน เป็นเงิน 288,000 บาท เริ่มดูแล ตั้งแต่วันที่ 12 ตุลาคม 2565 สิ้นสุดในวันที่ 11 ตุลาคม 2566 ข้อเสนอการจัดบริการสำหรับผู้สูงอายุและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ในเขตบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทร จำนวน 2 โครงการ รวม 71 คน เป็นเงิน 426,000 บาท เริ่มดูแลตั้งแต่วันที่ 8 พฤศจิกายน 2565 สิ้นสุดวันที่ 7 พฤศจิกายน 2566

 

15 0

2. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน ครั้งที่ 1

วันที่ 25 มกราคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 1/2566 ในวันที่ 25 มกราคม 2566 เวลา 13.30 น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมชั้น 2 สำนักงานเทศบาลตำบลนาโหนด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
คณะกรรมการเข้าร่วมประชุม จำนวน 17 คน เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง 7 คน รวม 24 คน
ผลลัพธ์
ที่ประชุมมีมติเห็นชอบ/อนุมัติ เรื่องต่าง ๆ ดังนี้
1.เห็นชอบแผนการเงิน ประจำปี 2566
2.เห็นชอบแต่งตั้งคณะอนุกรรมการสนับสนุนการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาโหนด
3.อนุมัติโครงการ จำนวน 6 โครงการ งบประมาณ 393,585 ประกอบด้วย   3.1 โครงการคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกุลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ปี 2566 ของ รพ.สต.บ้านนาโหนด งบประมาณ 93,700 บาท
  3.2 โครงการส่งเสริมสุขภาพและเพิ่มกิจกรรมทางกายในผู้สูงอายุ ของเทศบาลตำบลนาโหนด ปี 2566 งบประมาณ 98,300 บาท
  3.3 โครงการครอบครัวต้นแบบด้านการจัดการขยะแบบครบวงจร ของเทศบาลตำบลนาโหนด งบประมาณ 138,835 บาท
  3.4 โครงการพัฒนาทักษะการจัดการขยะตามหลัก 7 R ปีงบประมาณ 2566 ของเทศบาลตำบลนาโหนด งบประมาณ 31,250 บาท
  3.5 โครงการเพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยสื่อการเรียนรู้และการเล่นอย่างสร้างสรรค์ (Active learning active play) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังไทรทอง งบประมาณ 17,000 บาท
  3.6 โครงการเพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยสื่อการเรียนรู้และการเล่นอย่างสร้างสรรค์ (Active learning active play) ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์มัสยิดหนูรนเอียะสาน งบประมาณ 14,500 บาท

 

25 0

3. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการที่ดีแก่ประชาชนและหน่วยงานที่รับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

วันที่ 29 มิถุนายน 2566 เวลา 14:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.กำหนดวันทำกิจกรรม
2.จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม
3.ดำเนินการตามกำหนดการของกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 4 หน่วยงาน รวม 10 คน
ผลลัพธ์
ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ ความเข้าใจในขั้นตอนการเขียนโครงการผ่านเว็บไซด์กองทุน สามารถเขียนโครงการผ่านเว็บไซด์กองทุนได้ อย่างถูกต้อง

 

15 0

4. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน ครั้งที่ 2

วันที่ 5 กรกฎาคม 2566 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.รวบรวมเอกสารประกอบการประชุม
2.กำหนดวันประชุมพร้อมจัดทำเหนังสือเชิญประชุม จัดส่งให้คณะกรรมการและผู้เกี่ยวข้อง
3.จัดประชุม
4.รายงานผลการประชุม และแจ้งมติที่ประชุมต่อผู้เกี่ยวข้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
จัดประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 2/2566 วันที่ 5 กรกฎาคม 2566 เวลา 13.30 น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุม (ชั้น2) สำนักงานเทศบาลตำบลนาโหนด มีคณะกรรมการและผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมประุชุม 22 คน
ผลลัพธ์
ที่ประชุมมีมติรับทราบและเห็นชอบ เรื่องต่าง ๆ ดังนี้
1.รับทราบรายงานสถานการณ์การเงินกองทุนฯ ณ วันที่ 4 กรกฎาคม 2566
2.เห็นชอบปรับปรุงแผนงาน/โครงการของกองทุน ประจำปี 2566 โดยเพิ่มเติมโครงการในแผน จำนวน 5 โครงการ
3.เห็นชอบปรับปรุงแผนการเงิน ประจำปี 2566 ของกองทุน
4. อนุมัติโครงการของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 4 โครงการ งบประมาณ 247,600 บาท โครงการของศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการในชุมชนเทศบาลตำบลนาโหนด 1 โครงการ งบประมาณ 158,547 บาท และรับทราบในหลักการโครงการเพิ่มแสงสว่างเพื่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชนยามค่ำคืน แต่ให้ฝ่ายเลขานุการกองทุนฯ ตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณไปยัง สปสข. หากไม่ผิดวัตถุประสงค์ให้ถือว่าที่ประชุมอนุมัติให้ดำเนินการ

 

25 0

5. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน ครั้งที่ 3

วันที่ 29 สิงหาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน ครั้งที่ 3/2566 วันที่ 29 สิงหาคม 2566  ณ ห้องประชุม (ชั้น 2) สำนักงานเทศบาลตำบลนาโหนด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
คณะกรรมการเข้าร่วมประชุม 17 คน
ผลลัพธ์
ที่ประชุมมีมติเรื่องต่าง ๆ ดังนี้
1)รับทราบรายงานสถานะการเงินกองทุน ณ วันที่ 28 สิงหาคม 2566
2)อนุมัติโครงการตรวจร้านขายของชำ ร้านขายอาหารสด โดย ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านนาโหนด งบประมาณ 8,600 บาท
2)อนุมัติโครงการลดโรคในกลุ่มเสี่ยงและลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยชมรมทีมสุขภาพคลินิกเติมยา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทร งบประมาณ 67,300 บาท
3)อนุมัติโครงการ ส่งเสริมโภชนาการในเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2566 โดย ชมรม อสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทร งบประมาณ 9,265 บาท
4) อนุมัติโครงการสนับสนุนผ้าอ้อม ผ้าอ้อมผู้ใหญ่ แผ่นรองซับการขับถ่าย และผ้าอ้อมทางเลือก โดย ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการในชุมชน ทต.นาโหนด งบประมาณ 57,300 บาท
5) อนุมัติขยายเวลาการดำเนินการตามโครงการตรวจคัดกรองโรคทางสายตาและช่วยเหลือความผิดปกติทางสายตาในผู้สูงอายุ ในตำบลนาโหนด ปีงบประมาณ 2566 จากเดิมสิ้นสุดวันที่ 20 กันยายน 2566 ไปสิ้นสุดในวันที่ 30 ตุลาคม 2566
6) อนุม้ติโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาโหนด ประจำปี 2567

 

25 0

6. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุน และอนุกรรมการ

วันที่ 19 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดฝึกอบรมให้ความรู้แก่คณะกรรมการ อนุกรรมการ และผู้แทนเครือข่ายเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การดำเนินงานกองทุนตำบล วันที่ 19 กันยายน 2566 ณ ห้องประชุมโรงแรมบ้านสวนพฤกษารีสอร์ท ต.ท่ามิหรำ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
คณะกรรมการ อนุกรรมการ และเครือข่าย เข้าร่วมโครงการ จำนวน 35 คน
ผลลัพธ์
ผูู้เข้าร่วมโครงการ รับทราบ แนวทางการดำเนินการตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนัหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการ ระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และเพิ่มเติม /หลักเกณฑ์การพิจารณาโครงการ/หลักเกณฑ์การพิจารณาค่าใช้จ่ายในโครงการ/หลักเกณฑ์การดำเนินงานกองทุนเพื่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง / การจัดทำโครงการ การพิจารณาข้อเสนอโครงการ เพื่อขอรับงบ LTC

 

35 0

7. การจัดทำแผนสุขภาพตำบล

วันที่ 20 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมการจัดทำแผนกองทุน ให้แก่คณะกรรมการกองทุน อนุกรรมการ หน่วยงาน กลุ่ม องค์กร ต่าง ๆ ในวันที่ 20 กันยายน 2566 ณ ห้องประชุมโรงแรมบ้านสวนพฤกษารีสอร์ท ตำบลท่ามิหรำ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
คณะกรรมการ อนุกรรมการ หน่วยงาน กลุ่ม องค์กรต่าง ๆในพื้นที่ เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 40 คน
ผลลัพธ์
ผูเข้าร่วมกิจกรรม ได้รับทราบแนวทางการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา และแนวทางการเขียนโครงการที่สอดคล้องกับแผนงาน
ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้มีการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาด้านสุขภาพในพื้นที่ตำบลนาโหนด และนำเสนอตัวอย่างโครงการ ที่สมควรจะดำเนินการ
ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้มีการแลกเปลี่ยนการนำเสนอโครงการ และมีการทดลองการเขียนโครงการผ่านเว็บไซด์กองทุนตำบล
ผู้เข้าร่วมกิจกรรม รับทราบ แนวทาง ขั้นตอนการเขียนโครงการผ่านเว็บไซด์กองทุน

 

35 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ผลการดำเนินงาน
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการบริหารจัดการกองทุน
  1.1จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ จำนวน 3 ครั้ง ดังนี้
ครั้งที่ 1/2566 วันที่ 25 มกราคม 2566 มีกรรมการเข้าร่วมประชุม จำนวน 17 คน ผู้เกี่ยวข้อง 7 คน รวม 24 คน ที่ประชุมมีมติเรื่องต่าง ๆ ดังนี้
        1.เห็นชอบแผนการเงิน ประจำปี 2566
        2.เห็นชอบแต่งตั้งคณะอนุกรรมการสนับสนุนการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาโหนด
        3.อนุมัติโครงการ จำนวน 6 โครงการ งบประมาณ 393,585 ประกอบด้วย   3.1 โครงการคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกุลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ปี 2566 ของ รพ.สต.บ้านนาโหนด งบประมาณ 93,700 บาท
        3.2 โครงการส่งเสริมสุขภาพและเพิ่มกิจกรรมทางกายในผู้สูงอายุ ของเทศบาลตำบลนาโหนด ปี 2566 งบประมาณ 98,300 บาท
3.3 โครงการครอบครัวต้นแบบด้านการจัดการขยะแบบครบวงจร ของเทศบาลตำบลนาโหนด งบประมาณ 138,835 บาท
3.4 โครงการพัฒนาทักษะการจัดการขยะตามหลัก 7 R ปีงบประมาณ 2566 ของเทศบาลตำบลนาโหนด งบประมาณ 31,250 บาท
3.5 โครงการเพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยสื่อการเรียนรู้และการเล่นอย่างสร้างสรรค์ (Active learning active play) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังไทรทอง งบประมาณ 17,000 บาท
3.6 โครงการเพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยสื่อการเรียนรู้และการเล่นอย่างสร้างสรรค์ (Active learning active play) ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์มัสยิดหนูรนเอียะสาน งบประมาณ 14,500 บาท
ครั้งที่ 2/2566 วันที่ 5 กรกฎาคม 2566 มีกรรมการและผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม จำนวน 22 คน มีมติเรื่องต่างๆ ดังนี้
1.รับทราบรายงานสถานการณ์การเงินกองทุนฯ ณ วันที่ 4 กรกฎาคม 2566
2.เห็นชอบปรับปรุงแผนงาน/โครงการของกองทุน ประจำปี 2566 โดยเพิ่มเติมโครงการในแผน จำนวน 5 โครงการ
3.เห็นชอบปรับปรุงแผนการเงิน ประจำปี 2566 ของกองทุน
4.อนุมัติโครงการ จำนวน 4 โครงการ งบประมาณ 406,147 บาท ประกอบด้วย
  4.1โครงการเพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยสื่อการเรียนรู้และการเล่นอย่างสร้างสรรค์ (Active learning active play) ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์มัสยิดหนูรนเอียะสาน งบประมาณ 52,000 บาท
  4.2 โครงการเพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยสื่อการเรียนรู้ผ่านการเล่นอย่างสร้างสรรค์ (Active learning active play) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโหนด งบประมาณ 52,000 บาท
  4.3 โครงการเพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยสื่อการเรียนรู้ผ่านการเล่นอย่างสร้างสรรค์ (Active learning active play) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโคกว่าว งบประมาณ 52,000 บาท
  4.4 โครงการเพิ่มพื้นที่ปลอดภัยในการทำกิจกรรมทางกายด้วยแผ่นยางปูพื้นกันกระแทก  ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังไทรทอง งบประมาณ 61,600 บาท
  4.5โครงการตรวจคัดกรองโรคทางสายตาและช่วยเหลือความผิดปกติทางสายตาในผู้สูงอายุ งบประมาณ 158,547 บาท (โดยศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการใน ชุมชน ทต.นาโหนด)
และรับทราบในหลักการโครงการเพิ่มแสงสว่างเพื่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชนยามค่ำคืนของเทศบาลตำบลนาโหนด งบประมาณ 93,600 บาท แต่ให้ฝ่ายเลขานุการ ฯ ตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณไปยัง สปสช. หากไม่ผิดวัตถุประสงค์ให้ถือว่าที่ประชุมอนุมัติให้ดำเนินการ
ครั้งที่ 3/2566 วันที่ 29 สิงหาคม 2566 มีกรรมการและผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม จำนวน 17 คน มีมติเรื่องต่างๆ ดังนี้
  1.รับทราบรายงานสถานะการเงินกองทุน ณ วันที่ 28 สิงหาคม 2566
2.อนุมัติโครงการตรวจร้านขายของชำ ร้านขายอาหารสด โดย ชมรม อสม.รพ.สต.บ้าน-  นาโหนด งบประมาณ 8,600 บาท
3.อนุมัติโครงการลดโรคในกลุ่มเสี่ยงและลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยชมรมทีมสุขภาพคลินิกเติมยา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทร งบประมาณ 67,300 บาท
4. อนุมัติโครงการ ส่งเสริมโภชนาการในเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2566 โดย ชมรม อสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทร งบประมาณ 9,265 บาท
5. อนุมัติโครงการสนับสนุนผ้าอ้อม ผ้าอ้อมผู้ใหญ่ แผ่นรองซับการขับถ่าย และผ้าอ้อมทางเลือก โดย ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการในชุมชน ทต.นาโหนด งบประมาณ 57,300 บาท
6.อนุม้ติโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาโหนด ประจำปี 2567 งบประมาณ 115,500 บาท
7. อนุมัติขยายเวลาการดำเนินการตามโครงการตรวจคัดกรองโรคทางสายตาและช่วยเหลือความผิดปกติทางสายตาในผู้สูงอายุ ในตำบลนาโหนด ปีงบประมาณ 2566 จากเดิมสิ้นสุดวันที่ 20 กันยายน 2566 ไปสิ้นสุดในวันที่ 30 ตุลาคม 2566
2 กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการ LTC
จัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC จำนวน 1 ครั้ง ในวันที่ 11 ตุลาคม 2565 โดยมีคณะอนุกรรมการและผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม จำนวน 11 คน ที่ประชุมมีมติอนุมัติข้อเสนอการจัดบริการของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการในชุมชน จำนวน 3 โครงการ จำนวน 119 คน งบประมาณ 714,000 บาท ดังนี้
        1) ข้อเสนอการจัดบริการสำหรับผู้สูงอายุและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ในเขตบริการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาโหนด จำนวน 48 คน เป็นเงิน 288,000 บาท เริ่มดูแล ตั้งแต่วันที่ 12 ตุลาคม 2565 สิ้นสุดในวันที่ 11 ตุลาคม 2566
2) ข้อเสนอการจัดบริการสำหรับผู้สูงอายุและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ในเขตบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทร จำนวน 2 โครงการ รวม 71 คน เป็นเงิน 426,000 บาท เริ่มดูแลตั้งแต่วันที่ 8 พฤศจิกายน 2565 สิ้นสุดวันที่ 7 พฤศจิกายน 2566
3. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการที่ดีแก่หน่วยงานที่ขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
ได้จัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการที่ดีแก่หน่วยงานที่ขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบลนาโหนด ในวันที่ 29 มิถุนายน 2566 โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 4 หน่วยงาน จำนวน 10 คน ผลการดำเนินกิจกรรม
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ ความเข้าใจในขั้นตอนการเขียนโครงการผ่านเว็บไซด์กองทุน สามารถเขียนโครงการผ่านเว็บไซด์กองทุนได้ อย่างถูกต้อง

4.กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ อนุกรรมการ
ได้จัดอบรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ อนุกรรมการ จำนวน 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2566 มีคณะกรรมการอนุกรรมการ เข้าร่วมกิจกรรม 35 คน สรุปผลการจัดกิจกรรม ดังนี้
- ผู้เข้าร่วมโครงการ รับทราบ แนวทางการดำเนินการตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และเพิ่มเติม /หลักเกณฑ์การพิจารณาโครงการ/หลักเกณฑ์การพิจารณาค่าใช้จ่ายในโครงการ/หลักเกณฑ์การดำเนินงานกองทุนเพื่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง / การจัดทำโครงการ การพิจารณาข้อเสนอโครงการ เพื่อขอรับงบ LTC
5.กิจกรรมการจัดทำแผนกองทุน
ได้จัดกิจกรรมการจัดทำแผนกองทุนสุขภาพตำบล 1 ครั้ง ในวันที่ 20 กันยายน 2566 โดยมีคณะกรรมการ อนุกรรมการ เครือข่ายผู้ขอรับทุน และผู้เกี่ยวข้อง เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 40 คน ผลการดำเนินการ ดังนี้
-ผูเข้าร่วมกิจกรรม ได้รับทราบแนวทางการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา และแนวทางการเขียนโครงการที่สอดคล้องกับแผนงาน
-ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้มีการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาด้านสุขภาพในพื้นที่ตำบลนาโหนด และนำเสนอตัวอย่างโครงการ ที่สมควรจะดำเนินการ
-ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้มีการแลกเปลี่ยนการนำเสนอโครงการ และมีการทดลองการเขียนโครงการผ่านเว็บไซด์กองทุนตำบล
-ผู้เข้าร่วมกิจกรรม รับทราบ แนวทาง ขั้นตอนการเขียนโครงการผ่านเว็บไซด์กองทุน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 85%
63.76 85.00 0.00

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)
18.00 18.00 18.00

 

3 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน)
9.00 12.00 10.00

 

4 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี
ตัวชี้วัด : จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)
2.00 5.00 0.00

 

5 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา
ตัวชี้วัด : ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในกำหนด เพิ่มขึ้น
16.67 50.00

 

6 เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
4.00 4.00 3.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
คณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน ผู้รับทุน 60 40

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน (3) เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล (4) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี (5) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา (6) เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน ครั้งที่ 1 (2) กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1 (3) การบริหารจัดการกองทุน (4) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการที่ดีแก่ประชาชนและหน่วยงานที่รับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล (5) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน ครั้งที่ 2 (6) พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุน และอนุกรรมการ (7) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน ครั้งที่ 3 (8) กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2 (9) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน ครั้งที่ 4 (10) การจัดทำแผนสุขภาพตำบล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาโหนด ประจำปี 2566

รหัสโครงการ 66-3357-04-001 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาโหนด ประจำปี 2566 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-3357-04-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวิภาดา เต็มยอด กรรมการและเลขานุการกองทุน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด