กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มทักษะชีวิตในสถาณการณ์ฉุกเฉิน โรงเรียนบ้านทุ่งนาเคียน
รหัสโครงการ 66-L5174-102-005
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านทุ่งนาเคียน
วันที่อนุมัติ 9 พฤศจิกายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2565 - 29 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 20 กันยายน 2566
งบประมาณ 12,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวปรียา สินดุกา
พี่เลี้ยงโครงการ นายธนพนธ์ จรสุวรรณ
พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนบ้านทุ่งนาเคียน
ละติจูด-ลองจิจูด 6.782751,100.68459place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานความปลอดภัยทางถนน , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 12,000.00
รวมงบประมาณ 12,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 19 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 87 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 9 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 1 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)ที่ว่ายน้ำไม่ได้และมีโอกาสเสียชีวิตจากการจมน้ำ
60.00
2 ร้อยละของครูนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนที่ขาดทักษะความรู้และทักษะในการป้องกันอัคคีภัย
60.00
3 ร้อยละของเด็กวัยเรียนที่มีความเสี่ยงจากภัยสังคมตามที่อยู่อาศัยโรงเรียนและชุมชน
60.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันพบว่าปัญหาของเด็กวัย 6 ปีขึ้นไปมีประสบปัญหาที่หลากหลายขึ้นและทวีความรุนแรงขึ้นอันจะเห็นได้จากข่าวตามสื่อต่าง ๆ โดยมีสาเหตุจากการจมน้ำ ไฟไหม้และภัยจากสังคม ดังนั้นการสอนทักษะการเอาชีวิตรอดจากภัยต่างๆ ที่อาจเข้ามาและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะเป็นความรู้เพื่อให้ติดตัวพวกเขาตลอดไปทางโรงเรียนบ้านทุ่งนาเคียนจึงจัดกิจกรรมวิธีเอาตัวรอดเมื่อเกิดสถานการณ์ฉุกเฉินเพื่อเสริมทักษะการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากภัยต่าง ๆ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดภาวะที่ว่ายน้ำไม่ได้และมีโอกาสเสียชีวิตจากการจมน้ำเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)ลง

ร้อยละ 80 ของเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)ที่ว่ายน้ำไม่ได้และมีโอกาสเสียชีวิตจากการจมน้ำ

60.00 80.00
2 เพื่อสร้างองคค์วามรู้และทักษะในการป้องกันอัคคีภัยให้กับครูนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน

ร้อยละ 80 ครูนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีทักษะความรู้และทักษะในการป้องกันอัคคีภัย

60.00 80.00
3 เพื่อให้ครูนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีทักษะในการสังเกต การเจรจา การขอความช่วยเหลือ การป้องกันตัวเอง และการเอาตัวรอดและรู้เท่าทันภัยอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นได้

ร้อยละ 80 ครูนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีทักษะในการสังเกต การเจรจา การขอความช่วยเหลือ การป้องกันตัวเอง และการเอาตัวรอดและรู้เท่าทันภัยอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นได้

60.00 80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 12,000.00 3 12,000.00
25 พ.ย. 65 การเอาตัวรอดจากการจมน้ำและการป้องกันการจมน้ำ 0 4,625.00 2,650.00
25 พ.ย. 65 - 25 ก.พ. 66 การเอาตัวรอดจากอัคคีภัย 0 4,375.00 8,750.00
25 พ.ย. 65 - 25 ก.พ. 66 การป้องกันตัวจากภัยสังคม 0 3,000.00 600.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กวัยเรียนมีความรู้และทักษะในการเอาตัวรอดจากการจมน้ำ 2. เด็กวัยเรียนมีความรู้และทักษะในการเอาตัวรอดจากการเกิดเพลิงไหม้ 3. เด็กวัยเรียนเอาตัวรอดจากภัยสังคม

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 ต.ค. 2565 11:22 น.