กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ นักเรียนท่าแลหลาวัยใส ใส่ใจสุขภาพ
รหัสโครงการ 2566-L8010-2-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านท่าแลหลา
วันที่อนุมัติ 14 กันยายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 21 สิงหาคม 2566 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 58,450.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมูฮอฟฟัล ยาหมาย
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 204 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ชีวิตนักเรียนไทยโดยส่วนใหญ่มีชั่วโมงเรียนอย่างน้อย 6-8 ชั่วโมงต่อวัน เพราะนักเรียนจำเป็นต้องดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนตามกรอบของหลักสูตรการศึกษาของโรงเรียน ซึ่งเมื่อเทียบกับการศึกษาไทยกับต่างประเทศแล้ว เด็กไทยถือว่าเรียนหนักพอสมควร ทำให้ในแต่ละวันเด็กเกิดความเครียด เกิดอาการ เบื่อหน่ายในการเรียน ขาดความสดชื่น ไม่มีชีวิตชีวา หากปัญหานี้ไม่ได้รับการดูแล แก้ไข ก็จะส่งผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนอย่างแน่นอน จากสภาพปัญหาและการสอบถามผู้ปกครองของนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าแลหลา พบว่าในแต่ละวันนักเรียนจะใช้เวลาในการเรียน คือช่วงเช้าเริ่มตั้งแต่เวลา 08.30- 11.30 น.และช่วงบ่ายเริ่มตั้งแต่เวลา 12.30- 15.30 น. รวมเป็นเวลา 6 ชั่วโมงและยังมีกิจกรรมหลังเลิกเรียนของนักเรียนพบว่านักเรียนจำนวน 129คน คิดเป็นร้อยละ 75.88 มีพฤติกรรมการเล่นโทรศัพท์ เช่น เกม Facebook และ tiktok ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้ส่งผลต่อปัญหาด้านสุขภาพของนักเรียน ทำให้เกิดอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย เช่นปวดหลัง ปวดเอว ปวดแขน จากการนั่งเรียนหรือนั่งเล่นเกมติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพอนามัยของนักเรียนโดยตรง โรงเรียนบ้านท่าแลหลาเล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการนักเรียนท่าแลหลาวัยใสใส่ใจสุขภาพ เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียนในเรื่องเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์ การนวดเพื่อสุขภาพ การออกกำลังกายที่ถูกวิธี เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพของนักเรียน ให้นักเรียนและบุคลากรใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กนักเรียนและบุคลากร
  1. ร้อยละ 90 ของกลุ่มแกนนำนักเรียน กลุ่มนักเรียน และบุคลากรมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ (ระดับกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
  2. ร้อยละ 100 ของกลุ่มแกนนำนักเรียน กลุ่มนักเรียน และบุคลากรมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดีขึ้น
  3. ร้อยละ 80 นักเรียนและคณะครูมีความพึงพอใจต่อโครงการนักเรียนท่าแลหลาวัยใส ใส่ใจสุขภาพ
65.00 0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 58,450.00 0 0.00
??/??/???? ประเมินกิจกรรมและถอดบทเรียน 0 1,290.00 -
20 ต.ค. 65 - 30 เม.ย. 67 นวดเพื่อสุขภาพ 0 23,275.00 -
8 ส.ค. 66 - 30 เม.ย. 67 ประชุมชี้แจงขั้นตอนการดำเนินงาน 0 0.00 -
8 ส.ค. 66 - 30 เม.ย. 67 สร้างแกนนำในโรงเรียน 0 6,675.00 -
8 ส.ค. 66 - 30 เม.ย. 67 ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในทุกเช้าก่อนเข้าเรียน 0 0.00 -
8 ส.ค. 66 - 30 เม.ย. 67 การดำเนินกิจกรรมทางกายด้านการออกกำลังกาย และเพื่อส่งเสริมความเป็นเลิศด้านกีฬา 0 26,210.00 -
8 ส.ค. 66 - 30 ก.ย. 67 รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 0 1,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียนและคณะครูโรงเรียนบ้านท่าแลหลามีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอลดการติดหน้าจอโทรศัพท์

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 ต.ค. 2565 11:29 น.