กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โรงเรียนวัดโคกแย้ม
รหัสโครงการ 66-L3356-2-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนวัดโคกแย้ม
วันที่อนุมัติ 3 มกราคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 18,455.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสมจิต ทองเกตุ
พี่เลี้ยงโครงการ นางกชกานต์ คงชู
พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนวัดโคกแย้ม ม.2 ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (18,455.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 77 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนที่มีวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 ที่เพียงพอ

โรงเรียนวัดโคกแย้ม มีนักเรียน จำนวน 67 คน และบุคลากร จำนวน 10 คน รวมทั้งหมด 77 คน แต่มีวัสดุ/อุปกรณ์ในการป้องกันโรคโควิด 19 ที่ไม่เพียงพอ

0.00
2 ร้อยละ 100 ของนักเรียนและบุคลากรตระหนักถึงความสำคัญของการล้างมือและล้างมือตามขั้นตอนที่ถูกต้อง
70.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สถานการณ์โควิด-19 ในเด็กไทย อายุ 0-18 ปี ตั้งแต่มีการระบาดระลอกใหม่ 1 เมษายน - สิงหาคม 2565 สัปดาห์ที่ 15 - 33 เด็กติดเชื้อสะสม 91,906 ราย (ข้อมูลจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข) จะเห็นได้ว่าการระบาดของโรคติดเชื้อโคโรนา 2019 ตั้งแต่ปลายเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 จนถึงปัจจุบัน ทำให้มีผู้ติดเชื้อยืนยันทั่วโลก 205,579,907 ราย และมีผู้เสียชีวิต 4,337,828 ราย ตามข้อมูลวันที่ 12 สิงหาคม 2564 การระบาดระลอกที่ 3 ซึ่งมีความรุนแรงและรวดเร็วจากสายพันธุ์เดลต้าที่มีต้นกำเนิดจากประเทศอินเดียกำลังกระจายไปทั่วโลกอย่างรวดเร็วในประเทศการระบาดระลอกที่ 3 ตั้งแต่ต้นเดือนเมษายน 2564จนถึง 12 สิงหาคม 2564 มีความรุนแรงทำให้มีผู้ติดเชื้อสะสมถึง810,908 ราย และมีผู้เสียชีวิตสะสม 6,849 ราย จากการระบาดที่เกิดขึ้นในชุมชนและครอบครัวทำให้จำนวนผู้ติดเชื้อโควิด-19 สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว โรคติดเชื้อโคโรนา 2019 มีการแพร่ระบาดของโรคมาอย่างต่อเนื่อง โดยที่จำนวนผู้ติดเชื้อสะสมและผู้ติดเชื้อรายใหม่ซึ่งเป็นการติดเชื้อในประเทศได้เพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมากอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศอีกทั้งสถานการณ์การแพร่ระบาดในจังหวัดพัทลุง ก็ยังไม่สงบและมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ และการระบาดระลอกใหม่นี้ เชื้อโรคมีความสามารถในการแพร่เชื้อเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงมาก กระจายออกไปในพื้นที่ต่างๆ อย่างรวดเร็ว สถานการณ์ดังกล่าวอาจจะกระทบต่อสุขภาพของนักเรียนโดยในปี พ.ศ. 2565 พบว่า นักเรียนและบุคลากรโรงเรียนวัดโคกแย้ม ติดเชื้อไวรัสโควิด 19 จำนวน 24 คน โรงเรียนจึงได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว และเห็นว่าทุกภาคส่วนของสังคมควรมีบทบาทในการแก้ปัญหาร่วมกัน การปล่อยให้เป็นหน้าที่สาธารณสุข หรือหน่วยงานภาครัฐรับผิดชอบเพียงฝ่ายเดียวไม่เพียงพอ และจะทำให้ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโคโรนา 2019 รุนแรงขึ้นเรื่อยๆ จึงได้ถือโอกาสจัดโครงการป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เด็กโรงเรียนวัดโคกแย้ม รุู้เท่าทันภัยของโรคติดเชื้อโคโรนา 2019 และรู้ถึงสถานการณ์สามารถการป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อของโรคโคโรนา 2019 เป็นการสนองต่อนโยบายรัฐบาลในการนำสังคมไทยไปสู่ป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้อย่างเข้มแข็ง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 ที่เพียงพอ

ร้อยละ 100 ของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนที่มีวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 ที่เพียงพอ

0.00 100.00
2 เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรตระหนักถึงความสำคัญของการล้างมือ

ร้อยละ 100 ของนักเรียนและบุคลากรตระหนักถึงความสำคัญของการล้างมือและล้างมือตามขั้นตอนที่ถูกต้อง

70.00 100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 18,455.00 1 700.00
3 ม.ค. 66 สร้างความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคระบาดโควิด 19 แก่นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน 0 0.00 700.00
1 - 28 ก.พ. 66 จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ 0 8,455.00 -
1 - 16 พ.ค. 66 มือสะอาด ปราศจากโควิด 19 0 10,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนที่มีวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 ที่เพียงพอ
  2. นักเรียนและบุคลากรตระหนักในการล้างมือด้วยวิธีการที่ถูกต้อง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 พ.ย. 2565 14:41 น.