กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการแก้ปัญหาและป้องกันเหาในวัยเด็ก
รหัสโครงการ 66-50117-02-010
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนวัดจอมไตร
วันที่อนุมัติ 7 ธันวาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 21 กุมภาพันธ์ 2566 - 31 มีนาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 เมษายน 2566
งบประมาณ 14,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายพงษ์พัฒน์ ศรีรัตนะพันธ์
พี่เลี้ยงโครงการ นางวลัยภรณ์ เยาดำ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.566,99.699place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 21 ก.พ. 2566 31 มี.ค. 2566 14,000.00
รวมงบประมาณ 14,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กเล็ก(0-3 ปี) ได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์
100.00
2 ร้อยละของเด็กเล็ก (0-6ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า
1.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เหา เป็นโรคติดเชื้อปรสิตซึ่งเป็นสัตว์ตัวเล็ก ๆ ชื่อว่าเหา โดยเหาจะเกาะอยู่ตามหนังศีรษะ คอยดูดเลือดและวางไข่ทำให้มีอาการคัน โรคเหาสามารถรักษาให้หายได้ แต่ก็อาจกลับมาเป็นซ้ำได้
และเป็นปัญหาที่พบได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ ซึ่งพบบ่อยมากในเด็กนักเรียนอนุบาล ประถมศึกษา โดยเฉพาะนักเรียนหญิง พบว่ามีนักเรียนติดเหาประมาณ 80-90 % ซึ่งอาการที่มักจะพบได้จากคนที่เป็นเหาก็คือ อาการคันและเป็นแผลติดเชื้อบนหนังศีรษะ อันเนื่องมาจากการระคายเคือง และยังเป็นพาหะนำไปติด ผู้อื่นต่อไป
โรงเรียนวัดจอมไตร มีนักเรียนหญิงที่ติดเหา ประมาณ 60 % ซึ่งปัญหาหนึ่งคือการขาดการกำจัดเหาอย่างต่อเนื่องและการขาดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองจึงทำให้เด็กกลับมาเป็นอีก โรงเรียน จึงได้จัดทำศึกษาค้นคว้าภูมิปัญญาท้องถิ่น พบว่าใบน้อยโหน่ง ใบยอ สามารถกำจัดเหาได้ดี โดยไม่เป็นอันตรายและไม่มีอาการแพ้เหมือนใช้สารเคมีซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ มาใช้ในการกำจัดเหา และอีกทั้งเป็นการส่งเสริมให้ผู้ปกครองและนักเรียนได้รู้จักใช้ภูมิปัญญาและสมุนไพรท้องถิ่น ในการรักษาเด็กที่เป็นเหาและป้องกันโรคเหาลดการระบาดต่อไป ด้วยเหตุผลดังกล่าว โรงเรียนวัดจอมไตร จึงได้เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพ ของนักเรียนที่เป็นโรคเหา จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อทำการรักษาผู้ที่เป็นเหาและผู้ที่อยู่ใกล้ชิดควบคู่กันไป
โดยต้องทำการควบคุมไม่ให้เหาแพร่กระจาย และป้องกันไม่ให้เกิดการติดเหาซ้ำอีก

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มการได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์เด็กเล็ก(0-3 ปี) ขึ้น

ร้อยละของเด็กเล็ก(0-3 ปี) ได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์

100.00 1.00
2 เพื่อลดภาวะพัฒนาการล่าช้าเด็กเล็ก (0-6 ปี) ลง

ร้อยละของเด็กเล็ก (0-6 ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า

1.00 1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณก.พ. 66มี.ค. 66
1 แก้ปัญหาและป้องกันเหาในวัยเด็ก(2 ม.ค. 2566-31 มี.ค. 2566) 0.00    
รวม 0.00
1 แก้ปัญหาและป้องกันเหาในวัยเด็ก กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 50 14,000.00 1 14,000.00
24 ก.พ. 66 - 31 มี.ค. 66 อบรมให้ความรู้ เรื่อง การดูแลสุขภาพหนังศีรษะ 50 14,000.00 14,000.00
  1. ประสานงานขอความร่วมมือจากผู้ปกครองนักเรียนเพื่อเข้าร่วมโครงการ
  2. ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพหนังศีรษะอย่างถูกต้อง
  3. ให้ความรู้เรื่องการทำแชมพูกำจัดเหาสูตรใบน้อยโหน่งและใบยอ
  4. ปฏิบัติการทำแชมพูสระผมกำจัดเหา
  5. แจกแชมพูกำจัดเหาให้ผู้ปกครองเพื่อให้การกำจัดเหาที่บ้านเป็นไปอย่างต่อเนื่อง
  6. กำจัดเหาให้นักเรียนที่โรงเรียนทุกวันศุกร์โดยติดต่อกันจำนวน 10 ครั้ง
  7. ติดตามและประเมินผลการใช้แชมพูสระผมกำจัดเหา
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

8.1 นักเรียนหญิงในโรงเรียนวัดจอมไตรได้รับการกำจัดเหาอย่างต่อเนื่อง 8.2 นักเรียนมีบุคลิกภาพดีขึ้นนักเรียนและมีสมาธิในการเรียนเพิ่มขึ้น 8.3 ผู้ปกครองดูแลสุขภาพลูกมากขึ้นและสามารถนำสมุนไพรท้องถิ่นมาใช้ในการกำจัดเหาได้ 8.4. นักเรียนได้นำสมุนไพรใกล้ตัวมาใช้รักษาโรคได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 ธ.ค. 2565 15:43 น.