กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวิมีสุข ประจำปี 2566
รหัสโครงการ 66-50117-02-013
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมผู้สูงอายุตำบลนาโยงเหนือ
วันที่อนุมัติ 7 ธันวาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 20 ธันวาคม 2565 - 29 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 29 กันยายน 2566
งบประมาณ 28,450.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสุชฎา เพชรขาว
พี่เลี้ยงโครงการ นางวลัยภรณ์ เยาดำ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.566,99.699place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 20 ธ.ค. 2565 30 ก.ย. 2566 28,450.00
รวมงบประมาณ 28,450.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 45 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน(คน)
70.00
2 จำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เช่น หกล้มง่าย เป็นต้น
129.00
3 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีกลุ่มหรือสังกัดชมรม
30.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากข้อมูลผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลนาโยงเหนือ พบว่า มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยในปีงบประมาณ 2564 มีผู้สูงอายุ จำนวน  1,090  คน และข้อมูลผู้สูงอายุในปีงบประมาณ 2565  มีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น  1,125    คน จากจำนวนประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นเช่นนี้เนื่องจากการพัฒนาทางการแพทย์และสาธารณสุขทำให้อัตราตายลดลงผู้สูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น แต่ขณะเดียวกันผู้สูงอายุก็ยังได้รับผลกระทบจากภาวะเสื่อมถอยของร่างกายตามวัยทำให้เสี่ยงต่อโรคเรื้อรังและอุบัติเหตุทำให้ผู้สูงอายุเกิดภาวะพึ่งพาไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้เกิดภาวะทุพพลภาพเป็นคนไข้ติดบ้านติดเตียง ปัจจัยเหล่านี้ทำให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างไม่มีความสุข โดยส่วนใหญ่มีปัญหาสุขภาพกาย เช่นการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ โรคข้อเสื่อม โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ซึ่งปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญได้แก่เรื่องออกกำลังกาย อาหาร อารมณ์ ส่งผลให้ร่างกายเจ็บป่วยง่าย การเจ็บป่วยด้านสุขภาพจิตในผู้สูงอายุอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ นอกจากนี้ยังพบว่ามีผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลนาโยงเหนือที่ผ่านการคัดกรองและมีภาวะพึ่งพิง จำนวนทั้งสิ้น 47 ราย และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในอนาคต ชมรมผู้สูงอายุตำบลนาโยงเหนือได้เล็งเห็นและตระหนักถึงความสำคัญและจำเป็นในการดูแลใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุในตำบล ดังนั้น จึงได้จัดทำโครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีชีวีมีสุขขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้อง ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุที่มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดีและมีความสุขในบั้นปลายของชีวิต

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน

ผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน มีจำนวนลดลง

70.00 60.00
2 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ

ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง

129.00 120.00
3 เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ

ผู้สูงอายุมีกลุ่มหรือสังกัดชมรม เพิ่มขึ้น

30.00 40.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณธ.ค. 65ม.ค. 66ก.พ. 66มี.ค. 66เม.ย. 66พ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66
1 การดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ(24 ก.ค. 2566-24 ก.ค. 2566) 3,900.00                    
2 ออกกำลังกายด้วยยางยืด(20 ก.ย. 2566-20 ก.ย. 2566) 5,835.00                    
3 การเสริมสร้างสุขภาพจิตผู้สูงอายุ(27 ธ.ค. 2566-27 ธ.ค. 2566) 3,050.00                    
4 สมุนไพรเพื่อสุขภาพและฝึกปฏิบัติการทำยาดมสมุนไพร(11 มิ.ย. 2567-11 มิ.ย. 2567) 3,849.00                    
5 การดูแลผู้สูงอายุเกี่ยวกับโรคสมองเสื่อมและข้อเข่าเสื่อม(11 มิ.ย. 2567-11 มิ.ย. 2567) 2,550.00                    
6 สมุนไพรพื้นบ้านและการทำน้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ(11 มิ.ย. 2567-11 มิ.ย. 2567) 2,865.00                    
7 ผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส(11 มิ.ย. 2567-11 มิ.ย. 2567) 2,550.00                    
รวม 24,599.00
1 การดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 45 3,900.00 1 3,900.00
24 ก.ค. 66 ให้ความรู้การดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ 45 3,900.00 3,900.00
2 ออกกำลังกายด้วยยางยืด กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 45 5,835.00 1 5,835.00
20 ก.ย. 66 ให้ความรู้การออกกำลังกายด้วยยางยืดสำหรับผู้สูงอายุ 45 5,835.00 5,835.00
3 การเสริมสร้างสุขภาพจิตผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 45 3,050.00 1 3,050.00
27 ธ.ค. 66 ให้ความรู้การเสริมสร้างสุขภาพจิตผู้สูงอายุ 45 3,050.00 3,050.00
4 สมุนไพรเพื่อสุขภาพและฝึกปฏิบัติการทำยาดมสมุนไพร กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 45 3,849.00 1 3,849.00
10 ส.ค. 66 ให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรรักษาโรคและการสาธิตการทำยาดมสมุนไพรเพื่อสุขภาพ 45 3,849.00 3,849.00
5 การดูแลผู้สูงอายุเกี่ยวกับโรคสมองเสื่อมและข้อเข่าเสื่อม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 45 2,550.00 1 2,550.00
11 มิ.ย. 67 ให้ความรู้การดูแลผู้สูงอายุเกี่ยวกับโรคสมองเสื่อมและข้อเข่าเสื่อม 45 2,550.00 2,550.00
6 สมุนไพรพื้นบ้านและการทำน้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 45 2,865.00 1 2,865.00
1 มี.ค. 66 ให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรพื้นบ้านและสาธิตการทำน้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ 45 2,865.00 2,865.00
7 ผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 45 2,550.00 1 2,550.00
8 ก.พ. 66 ผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส 45 2,550.00 2,550.00

-  กิจกรรมชี้แจงให้ความรู้ในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ   -  กิจกรรมชี้แจงให้ความรู้เกี่ยวกับหลักการดูแลสุขภาพและวิธีการออกกำลังกายที่ถูกต้องและการเสริมสร้างสมรรถภาพร่างกาย อาหารและโภชนาการ เสริมสร้างสุขภาพจิต แก่ผู้สูงอายุ จัดกิจกรรมการออกกำลังกายแก่กลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งการสร้างสัมพันธภาพของผู้สูงอายุและอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ (เดือนละ 1 ครั้ง ทุกวันพฤหัสบดีที่สองของเดือน (ปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม) ครั้งละ 2 ชม. รวม 9  ครั้ง

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1) ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจและเกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างถูกวิธี 2) ผู้สูงอายุมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมตามวัย 3) ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายแข็งแรงและสุขภาพจิตที่ดีขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 ธ.ค. 2565 10:38 น.