กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปลูกผักข้างบ้าน ปลอดสารเคมี สุขภาพดีลดโรค
รหัสโครงการ 66-L-4137-2-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มสตรีตำบลพร่อน
วันที่อนุมัติ 25 พฤศจิกายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 15,550.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางนิตยา ดือเระ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.563,101.229place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 2 ม.ค. 2566 29 ก.ย. 2566 15,550.00
รวมงบประมาณ 15,550.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ประชากรในพื้นที่ตำบลพร่อน 5,638 คน กลุ่มเสี่ยงที่เป็นโรคเบาหวาน จำนวน 20 ราย และกลุ่มเสี่ยงที่โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 120 ราย จากปัญหาสุขภาพดังกล่าว พบว่า ในชุมชนมีผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเพิ่มมากขึ้น ต้องรับการบริการรักษาพยาบาลตลอดชีวิตสูญเสียค่าใช้จ่ายเป็นจำนวนมากซึ่งส่งผลกระทบต่อครอบครัว เป็นภาระที่รัฐบาลจะต้อง เสียงบประมาณในการดำเนินการเป็นอันมาก และเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ เนื่องจากต้นเหตุของปัญหาสุขภาพที่สำคัญมีสาเหตุมาจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมีหรือผักผลไม้ที่มีสารเคมีตกค้างเพราะเกษตรกรผู้ผลิตใช้สารกำจัดศัตรูพืชอย่างไม่ถูกวิธี เพื่อเหตุทางการค้าทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้น ตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยง การรับประทานผักอาหารที่มีกากใยมาก อาหารที่มีเบต้า-แคโรทีน วิตามินเอและวิตามินซีสูง ซึ่งสามารถรับประทานได้จากผักและผลไม้ โดยเฉพาะผักปลอดสารพิษที่สามารถปลูกรับประทานเองได้ในครัวเรือน ถือเป็นแนวทางหนึ่งในการป้องกันปัญหาโรคไม่ติดต่อและเป็นการแก้ที่ต้นเหตุแบบยั่งยืน โดยเน้นการให้สุขศึกษาแก่ประชาชนเกี่ยวกับการบริโภคผัก และการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อบริโภคในครัวเรือน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกบริโภคพืชผักปลอดสารเคมี

ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายที่มีความรู้ในการเลือกบริโภคผัก

20.00
2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายปลูกพืชผักปลอดสารพิษรับประทานในครัวเรือน

ร้อยละ 80 กลุ่มเป้ายหมายปลูกพืชผักปลอดสารพิษรับประทานในครัวเรือน

10.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณม.ค. 66ก.พ. 66มี.ค. 66เม.ย. 66พ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66
1 อบรมให้ความรู้เรื่องประโยชน์ของผักในการป้องกันโรค(2 ม.ค. 2566-29 ก.ย. 2566) 11,100.00                  
2 อบรมทำการปุ๋ยหมักชีวภาพ การทำ EM ทั้งภาคทฤษฎี และปฏิบัติ-ผักกับการป้องโรค(2 ม.ค. 2566-2 ม.ค. 2566) 800.00                  
3 อบรมการเพาะปลูกทั้งภาคทฤษฏีและปฏิบัติ(2 ม.ค. 2566-31 ม.ค. 2566) 3,650.00                  
รวม 15,550.00
1 อบรมให้ความรู้เรื่องประโยชน์ของผักในการป้องกันโรค กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 11,100.00 1 11,100.00
2 ม.ค. 66 - 29 ก.ย. 66 อบรมให้ความรู้เรื่องประโยชน์ของผักในการป้องกันโรค 50 11,100.00 11,100.00
2 อบรมทำการปุ๋ยหมักชีวภาพ การทำ EM ทั้งภาคทฤษฎี และปฏิบัติ-ผักกับการป้องโรค กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 800.00 1 800.00
2 ม.ค. 66 - 29 ก.ย. 66 อบรมการทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ การทำEMทั้งภาคทฤษฎี และปฏิบัติ – ผักกับการ ป้องกันโรค 50 800.00 800.00
3 อบรมการเพาะปลูกทั้งภาคทฤษฏีและปฏิบัติ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 3,650.00 1 3,650.00
2 ม.ค. 66 - 29 ก.ย. 66 อบรมการเพาะปลูกทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 50 3,650.00 3,650.00

1.จัดประชุมชี้แจงโครงการประชาสัมพันธ์   2.แบบฟอร์มใบสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ   3.เสนอโครงการเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณ   4.เตรียมสถานที่ในการอบรม พร้อมทั้งเครื่องเสียงสื่อ เอกสาร วัสดุ อุบปกรณ์ในการ ฝึกในการอบรม   5 .กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องผักกับประโยชน์ในการป้องกันโรค     - อบรมเรื่องประโยชน์ของผักในการป้องกันโรค     - อบรมการทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ การทำEM วิธีการเพาะปลูกผักทั้งภาคทฤษฎี และปฏิบัติ – ผักกับการป้องกันโรคต่างๆ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

7.1 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกบริโภคพืชผักปลอดสารเคมี     7.2 กลุ่มเป้าหมายควรบริโภคผักและผลไม้จำนวน 400 กรัม/วัน     7.3 กลุ่มเป้ายหมายปลูกพืชผักปลอดสารพิษรับประทานในครัวเรือน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 ธ.ค. 2565 13:38 น.