กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการร่วมมือ ร่วมใจ ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ โรคติดต่อนำโดยแมลง ปีงบประมาณ 2566
รหัสโครงการ 66-L4117-01-13
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละ
วันที่อนุมัติ 28 กุมภาพันธ์ 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2566
งบประมาณ 33,910.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายซอบรี มณีหิยา
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 7 มี.ค. 2566 29 ก.ย. 2566 33,910.00
รวมงบประมาณ 33,910.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 52 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาโรคติดต่อเป็นปัญหาหรือวิกฤติด้านสาธารณสุขที่สำคัญอย่างหนึ่งของประเทศไทย การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อมเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคติดต่อหลายชนิด โดยเฉพาะโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ เช่น โรคไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรีย เป็นต้น ซึ่งในแต่ละปีจะมีประชาชนป่วยเป็นจำนวนมาก เพราะการติดต่อและแพร่ระบาดของโรครวดเร็วขึ้น และมีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพของประชาชนในชุมชนในแง่การเจ็บไข้ได้ป่วย การพิการและการเสียชีวิตของประชาชน เนื่องจากความรุนแรงของโรค ซึ่งประชาชนมีโอกาสหรือความเสี่ยงที่จะเกิดโรคและภัยสุขภาพด้วยกันทุกคน โดยประชาชนจะต้องทราบถึงสาเหตุและแนวทางป้องกันโรคที่เกิดขึ้นในพื้นที่่ เพื่อให้ระมัดระวังและป้องกันปัจจัยเสี่ยงต่อโรค โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ เป็นต้น การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชนในพื้นที่จะต้องรวดเร็ว ทันเหตุการณ์ จึงจะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อสุขภาพ ภายใต้ การมีส่วนร่วมจากภาคท้องถิ่นและภาคประชาชน วางแผนป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ โดยการดำเนินงานในลักษณะ "ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ ร่วมประเมินผล และรวมรับผิดชอบ" ในทุกระดับ เพื่อช่วยกันค้นหาปัญหา จึงสามารถแก้ไขต้นต่อของปัญหาการเกิดโรคได้ซึ่งข้อมูลสถานการณ์โรคติดต่อโดยแมลงในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละย้อนหลัง3ปีที่ผ่านมาดังนี้ ตั้งแต่ 1 มกราคม - ธันวาคม 2563 พบว่าประชาชนในพื้นที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก มีจำนวน 32 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 570•00 ต่อแสนประชากร (เป้าหมายต้องไม่เกิน 400 ต่อแสนประชากร) และป่วยด้วยโรคมาลาเรีย มีจำนวน 15 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 267.20 ต่อแสนประชากร ตั้งแต่ 1 มกราคม - ธันวาคม 2564 ไม่พบหรือไม่มีประชาชนในพื้นที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและป่วยด้วยโรคมาลาเรีย และตั้งแต่ 1 มกราคม - พฤศจิกายน 2565 ไม่พบว่าประชาชนในพื้นที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกมีจำนวน 1 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 17.20 ต่อแสนประชากร (เป้าหมายต้องไม่เกิน 400 ต่อแสนประชากร) และไม่พบหรือไม่มีป่วยด้วยโรคมาลาเรีย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อที่นำโดยแมลงของประชากรในหมู่บ้าน

 

0.00
2 เพื่อสร้างความร่วมมือของชุมชนในการแก้ปัญหาและควบคุมป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 33,910.00 2 33,910.00
1 ม.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 กิจกรรมก่อนการระบาดของโรค 0 33,910.00 33,910.00
1 ม.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 กิจกรรมขณะเกิดการระบาดของโรค 0 0.00 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อที่นำโดยแมลงของประชากรในหมู่บ้านได้
2.ชุมชนให้ความร่วมมือในการแก้ปัญหาและควบคุมป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 ม.ค. 2566 10:53 น.