กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพทุกกลุ่มวัย เครือข่ายมีส่วนร่วม ปี 2566
รหัสโครงการ 66-L4117-01-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองน้ำใส
วันที่อนุมัติ 28 กุมภาพันธ์ 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 มกราคม 2566 - 29 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2566
งบประมาณ 24,295.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางปารีณา มะสะอะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองน้ำใส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 7 มี.ค. 2566 29 ก.ย. 2566 24,295.00
รวมงบประมาณ 24,295.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 129 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 129 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาสุขภาพช่องปากเป็นปัญหาสำคัญที่พบในประชาชนทุกกลุ่มวัย การมีสุขภาพช่องปากที่ดีเป็นส่วนหนึ่งของการมีสุขภาพร่างการที่ดีช่วยเสริมคุณภาพชีวิต เพราะเมื่อมีปัญหาสุขภาพช่องปากย่อมส่งผลต่อระบบอื่นๆของร่างกาย การสูญเสียฟันน้ำนมไปก่อนกำหนด ทำให้เด็กรับประทานอาหารลำบาก เคี้ยวไม่สะดวก และเด็กที่มีฟันน้ำนมผุมาผุมากจะมีผลให้ ปัญหาโรคฟันผุจึงเป็นปัญหาสำคัญที่เป็นจุดเริ่มต้นของความบกพร่องในการทำงานของอวัยวะในช่องปาก จากการสำรวจ ฟันแท้ผุมากด้วย จากผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 10 พ.ศ.2564
พบว่าเด็ก 3 ปีปราศจากฟันผุ ร้อยละ 47.1 ในเด็ก 5 ปีมีแนวโน้มปราศจากฟันผุเพิ่มขึ้น คือ ร้อยละ 24.4 และยังพบว่าเด็กก่อนวัยเรียนทั้ง 2 กลุ่มอายุ ประมาณร้อยละ 40 มีคราบจุลินทรีย์อยู่ในระดับที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ และพบฟันผุระยะเริ่มต้นในเด็กอายุ 3 ปีและ 5 ปี ร้อยละ 31.1และ ร้อยละ 31.3 ตามลำดับในกลุ่มวัยเรียนพบความชุกของโรคฟันผุในกลุ่มเด็กอายุ 12 ปี ร้อยละ 52 กลุ่มผู้สูงอายุพบว่า ผู้สูงอายุ 60-74ร้อยละ 56.1 มีฟันถาวรใช้งานได้อย่างน้อย 20 ซี่ เฉลี่ย 18.6 ซี่ต่อคน พบว่าในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ได้รับการขูดและฟันตามเกณฑ์ร้อยละ45.4 ซึ่งลดลงจากปี 64 เด็ก 0-2 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากร้อยละ 52.8 ผู้ปกครองเด็กได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟัน ร้อยละ 48.9 เด็ก 3-5 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากร้อยละ 65.8 และพบเด็ก 3 ปี ปราศจากฟันผุในฟันน้ำนมร้อยละ 52.7 เนื่องเด็กวัยนี้เป็นวัยที่ฟันเริ่มขึ้น ควรมีการให้ความรู้ความเข้าใจกับผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กโดยฝึกทักษะการแปรงฟันให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ ฝึกตรวจฟันให้เด็กเบื้องต้น เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุ กลุ่มเด็ก 12 ปีพบปราศจากฟันแท้ผุ ร้อยละ 59.6 ซึ่งลดลงจากปีที่ผ่านมาจึงควรเน้นจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษาด้วยการจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันที่ผสมฟลูออไรด์และ การบูรณาการหลักสูตรการเรียนรู้ด้านทันตสุขภาพครอบคลุมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้และทุกชั้นเรียน กลุ่มผู้สูงอายุได้รับตรวจสุขภาพช่องปากและรับบริทางทันตกรรม ร้อยละ 40.8 และร้อยละ 22.7 มีฟันแท้ใช้งานได้ไม่น้อยกว่า 20 ซี่ 54.2 จะพบว่าบางกลุ่มอายุเข้าถึงบริการที่ค่อนข้างน้อย
ดังนั้นนอกจากการสื่อสารให้ความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากแล้วควรเพิ่มช่องทางในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารจากเครือข่ายในชุมชน การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพจึงจำเป็น ที่จะต้องปรับแนวคิด และแนวทางการดำเนินงานให้เป็นระบบ โดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการคิดและทำ โดยระดมทรัพยากรจากทุกภาคส่วน จึงจะสามารถจะจัดการกับปัญหาสุขภาพช่องปากในทุกกลุ่มวัยอย่างได้ผลและยั่งยืน จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายในชุมชนทั้ง ทันตบุคลากร ผู้ปกครอง อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ตลอดถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 24,295.00 1 24,295.00
3 ม.ค. 66 - 29 ก.ย. 66 กิจกรรม พัฒนาทักษะส่วนบุคคล หญิงหลังคลอด และ ผปค,ผู้ดูแลเด็กโดยแกนนำที่ผ่านการอบรม 0 24,295.00 24,295.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

8.1 การสร้างเสริมสุขภาพช่องปากของประชาชนทุกกลุ่มวัยมีการสนับสนุนของภาคีเครือข่าย 8.2 การเข้าถึงบริการด้านทันตสาธารณสุขที่ทั่วถึงและมีประสิทธิภาพในประชาชนทุกกลุ่มวัย 8.3 เครือข่ายเกิดการพัฒนาองค์ความรู้ในการส่งเสริมทันตสุขภาพทุกกลุ่มวัย
8.4 ภาคีเครือข่ายมีมีศักยภาพในการดำเนินด้านทันตสุขภาพในชุมชน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 ม.ค. 2566 11:33 น.