กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการจัดการขยะมูลฝอยและขยะอินทรีย์ในครัว เพื่อลดแหล่งก่อโรค
รหัสโครงการ 66-L-4137-1-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
วันที่อนุมัติ 25 พฤศจิกายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 25 พฤศจิกายน 2565 - 31 มกราคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 28 กันยายน 2566
งบประมาณ 31,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางกัญญาภัค ยอดเมฆ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.563,101.229place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 25 พ.ย. 2565 31 ม.ค. 2566 31,200.00
รวมงบประมาณ 31,200.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาขยะอินทรีย์นับวันจะมีมากขึ้น เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร พฤติกรรมการบริโภค        ที่ต้องการความสะดวกสบาย การจัดการขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกหลักวิชาการ สิ่งเหล่านี้ล้วนส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมโดยรวม เช่น กลิ่นรบกวน เป็นแหล่งเพาะพันธุ์โรค ถึงแม้ว่าหน่วยงานของภาครัฐจะมีหน้าที่รับผิดชอบต้องรับภาระในการจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น ฝังกลบ การใช้เตาเผา กองทิ้งไว้กลางแจ้ง ซึ่งก็จะเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุและไม่ยั่งยืน ซึ่งแนวทางที่ดีที่สุดสำหรับการแก้ปัญหาเรื่องขยะมูลฝอย ต้องมีการจัดการจากแหล่งกำเนิด เช่น จากครัวเรือน ชุมชน โดยต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการจัดการขยะที่ต้นทาง ผลการศึกษาองค์ประกอบขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในแต่ละระดับการปกครองในภาคใต้ (สสภ. 14-16) ประจำปีงบประมาณพบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกระดับการปกครองในภาคใต้ มีชนิดของ ขยะมูลฝอยที่เป็นองค์ประกอบหลัก คือ “ขยะอาหาร” และรองลงมาคือ “ขยะพลาสติก” ซึ่งร้อยละ 65 เป็นขยะอินทรีย์ที่ทำให้เกิดกลิ่นเหม็น รบกวน และส่งผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม อีกทั้งยังเป็นการสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนในชุมชนดูแล จัดการกับปัญหาขยะที่เกิดจากครัวเรือนได้อีกด้วย
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้เล็งเห็นความสำคัญ และมีความประสงค์ของบประมาณสนับสนุน        ตามโครงการจัดการขยะมูลฝอยและขยะอินทรีย์ในครัว เพื่อลดแหล่งก่อโรค เพื่อดำเนินกิจกรรมลดขยะอินทรีย์ เพื่อสุขภาพของคนในชุมชนตำบล พร่อน เพื่อแก้ไขปัญหาขยะขยะมูลฝอยและขยะอินทรีย์ในครัวและยังช่วยในการลดปัญหาสุขภาพ โดยการส่งเสริมให้แต่ละครัวเรือนมีการจัดการขยะที่ ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง เพื่อไม่ให้ขยะดังกล่าวตกค้าง ทำให้ชุมชนสะอาด น่าอยู่ และไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์โรคในชุมชน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมการจัดการขยะอินทรีย์และลดปริมาณขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือน

ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายมีการจัดการขยะอินทรีย์และขยะเปียกในครัว

5.00
2 เพื่อส่งเสริมให้แต่ละครัวเรือนมีการจัดการขยะอินทรีย์และขยะเปียกในครัว

ร้อยละ 90 ของครัวเรือนมีการจัดทำถังขยะอินทรีย์และขยะเปียกในครัว

10.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
25 พ.ย. 65 - 31 ม.ค. 66 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทางการจัดการขยะแบบ 3 ช และสาธิตการคัดแยกประเภทขยะแต่ละชนิด 120 31,200.00 31,200.00
รวม 120 31,200.00 1 31,200.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะอินทรีย์หรือขยะเปียก ส่งผลให้ปริมาณมาณขยะมูลฝอยลดลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 ม.ค. 2566 11:31 น.