กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษ
รหัสโครงการ 61-L8018-02-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลทุ่งยาว
วันที่อนุมัติ 27 กันยายน 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2560 - 31 มีนาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 10,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ชมรมอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติฯเทศบาลตำบลทุ่งยาว
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.241,99.753place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ย. 2560 30 มี.ค. 2561 10,000.00
รวมงบประมาณ 10,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ต้นเหตุของปัญหาสุขภาพ ที่สำคัญมีสาเหตุมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมี หรือ ผัก-ผลไม้ที่ไม่ปลอดสารพิษ เพราะเกษตรกรผู้ผลิตใช้สารกำจัดศัตรูพืช อย่างไม่ถูกวิธีเพื่อเหตุผลทางการค้าและพาณิชย์ทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้น ตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยง แนวทางในการป้องกันปัญหาที่เป็นการแก้ที่ต้นเหตุ แบบยั่งยืน คือการให้สุขศึกษาแก่ประชาชน และการส่งเสริมการปลูกผักเพื่อบริโภคในครัวเรือน การปลูกผักรับประทานเองแบบผักอินทรีย์ก็เป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยใช้ผู้บริโภคได้รับสารอาหารที่ดีมีประโยชน์อย่างแท้จริง
ทางชมรมอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลทุ่งยาว เห็นความสำคัญของการปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเอง ซึ่งมีทั้งความปลอดภัยจากสารเคมี จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษขึ้น เพื่อส่งเสริม และให้ความรู้ในการบริโภคผักปลอดสารพิษ เพื่อพิชิตโรค และเป็นการให้ชุมชน หันกลับมาดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงในการป้องกันโรค เน้นในด้านการป้องกันโรคมากกว่าการรักษาพยาบาล

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อรณรงค์และให้ความรู้ในการบริโภคผักปลอดสารพิษ เพื่่อพิชิตโรค

 

0.00
2 1. เพื่อรณรงค์และให้ความรู้ในการบริโภคผักปลอดสารพิษ เพื่อพิชิตโรค 2. เพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเองในครัวเรือนแก่ประชาชนในพื้นที่ 3. เพื่อส่งเสริม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องและปลอดภัยแก่ประชาชน

1.  ประชาชนมีความรู้ในเรื่องการรับประทานอาหารปลอดสารพิษและมีสุขภาพที่ดี  2.  ครัวเรือนเป้าหมายเข้าร่วมปลูกผักปลอดสารพิษ  ไม่น้อยกว่าร้อยละ  80  3.  ประชาชน/ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น

1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 10.00 4 10,000.00
30 พ.ย. 60 - 31 มี.ค. 61 ประเมินภาวะสุขภาพ 0 0.00 0.00
22 ธ.ค. 60 กิจกรรม ประชาสัมพันธ์ 0 10.00 700.00
22 ธ.ค. 60 กิจกรรม อบรมให้ความรู้ เรื่อง ผักปลอดสารพิษกับประโยชน์ในการป้องกันโรค 0 0.00 7,200.00
22 ธ.ค. 60 กิจกรรม ให้ความรู้พร้อมสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ ป้องกันโรค 0 0.00 2,100.00
  1. ประชุมชี้แจงโครงการประชาสัมพันธ์
  2. เสนอโครงการเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณ
  3. เตรียมสถานที่ในการอบรม พร้อมทั้งเครื่องเสียง สื่อ เอกสาร วัสดุ อุบปกรณ์ในการฝึกในการอบรม
  4. ดำเนินการจัดกิจกรรม ดังนี้
  5. กิจกรรม ประชาสัมพันธ์โครงการ

- ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น รพ.สต., เทศบาล, อสม., เกษตรอำเภอ - จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์โครงการ - รับสมัครครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ - จัดทำทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ 2. กิจกรรม การประเมินภาวะสุขภาพ - ดำเนินการประเมินสภาวะสุขภาพของผู้เข้าร่วมโครงการก่อน และหลัง ดำเนินโครงการ ซึ่งประเมินโดยการชั่งน้ำหนัก วัดความดันโลหิต วัดรอบเอว เจาะระดับน้ำตาลในเลือด โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ อสม.
และมีการเปรียบเทียบผลการตรวจ ก่อน – หลังรายบุคคล - บันทึกสรุปผลสุขภาพรายบุคคล 3. กิจกรรม อบรมให้ความรู้ เรื่อง ผักปลอดสารพิษกับประโยชน์ในการป้องกันโรค - ดำเนินการจัดอบรมให้ความรู้ในเรื่องการปลูก ดูแลรักษา และประโยชน์ของผัก การปลูกผักที่ปลอดภัย - อบรมการทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ การทำ EM ทั้งภาคทฤษฎี และปฏิบัติ 4. กิจกรรม ให้ความรู้พร้อมสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ ป้องกันโรค - ดำเนินกิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษ ป้องกันโรค - สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ผัก เพื่อการบริโภคผักปลอดสารพิษ ลดการเกิดโรค สำหรับครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 50 ครัวเรือน 5. สรุปผลการดำเนินโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนมีความรู้ในเรื่องการรับประทานอาหารปลอดสารพิษและมีภาวะสุขภาพที่ดี
  2. ประชาชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ รับประทานเองในครัวเรือน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 พ.ย. 2560 12:05 น.