กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
รหัสโครงการ 66-L8413-1-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาลอ
วันที่อนุมัติ 19 มกราคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 1 ตุลาคม 2566
งบประมาณ 23,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมะกือตา แตรอแม็ง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.448,101.445place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (23,600.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่
2.24
2 ร้อยละผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน
1.45

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเป็นโรคติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ และถือว่าเป็นภัยเงียบ เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฏอาการ ในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปีเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง และยาวนาน มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมาก และทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรงและอาจสูญเสียอวัยวะอื่นๆ ได้แก่ ตา เท้า ไต และหัวใจ สาเหตุเกิดจากพันธุกรรม และสาเหตุหลักคือการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง ได้แก่ การขาดการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารที่มันจัด เค็มจัด หวานจัด รวมทั้งการบริโภคผักและผลไม้ที่ไม่เพียงพอ ความเครียด การสูบบุหรี่และดื่มสุรา

จากผลการตรวจคัดกรองสุขภาพประชาชนในชุมชนเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาลอ ปีงบประมาณ 2565 ในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ขึ้นไป จำนวน 1,378 คน พบ อัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ จำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 2.24 อัตราป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 1.45 และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาลอ จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทั้งกลุ่มผู้ป่วย และกลุ่มเสี่ยงได้ จึงจำเป็นต้องจึงจำเป็นต้องจัดทำโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่อง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน

ร้อยละ 100 ของผู้ที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เรื่องจัดบริการเสริมทักษะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ

2 2. เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ร้อยละ 100 ของผู้ที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เรื่องจัดบริการเสริมทักษะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ

3 3. เพื่อลดกลุ่มเสี่ยงไม่ให้เกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรายใหม่

ร้อยละ 100 ของผู้ที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เรื่องจัดบริการเสริมทักษะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณพ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66
1 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน(7 ก.พ. 2566-30 ก.ย. 2566) 23,600.00          
รวม 23,600.00
1 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 200 23,600.00 0 0.00
7 ก.พ. 66 - 30 ก.ย. 66 อบรมให้ความรู้ เชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 200 23,600.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.คัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชนทุกราย 2.ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและได้รับการจัดบริการเสริมทักษะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 3.กลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 ก.พ. 2566 10:23 น.