กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะในการจัดการแก้ไขปัญหาโภชนาการของเด็กให้กับผู้ปกครอง (2) เพื่อเพิ่มเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขด้านโภชนการการ เฝ้าระวัง ติดตามและสร้างศักยภาพในการทำงานร่วมกัน (3) เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็ก0-5 ปีที่มีพัฒนาการที่สมวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็ก0-5 ปีแก่ อสม.และผู้ปกครอง (2) กิจกรรมติดตามประเมินผล (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็ก0-5 ปีแก่ อสม.และผู้ปกครอง (4) ติดตามประเมินผลภาวะโภชนการในเด็ก0-5 ปี สรุปผลการดำเนินงาน กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี แก่ อสม. และผู้ปกครองเด็ก 1.มีผู้เข้าร่วมอบรมทั้งหมดจำนวน 80 คน โดยแบ่งเป็น อสม.จำนวน 40 คน และผู้ปกครองเด็กจำนวน 40 คน มีการประเมินค่าเริ่มต้น โดยการชั่งน้ำหนัก, วัดส่วนสูง และเจาะปลายนิ้วเพื่อค้นหาภาวะซีด ในเด็กทุกคนที่เข้าร่วมอบรม โดยมีนายกเทศมนตรี เป็นประธานเปิดการอบรม พร้อมด้วยปลัดเทศบาล
2.วิทยากรจากโรงพยาบาลยะหริ่งให้ความรู้เรื่องโภชนศาสตร์ในเด็กเล็ก, ความรู้เรื่องพัฒนาการเด็กในแต่ละช่วงวัย ผู้เข้าร่วมอบรมให้ความสนใจ และซักถามประเด็นต่างๆ 3.สาธิตการทำอาหารที่อุดมด้วยโปรตีนและคาร์โบไฮเดรตที่มีคุณภาพ เป็นเมนูอาหารเพื่อพัฒนาโภชนาการ และหลักการใช้พฤติกรรมบำบัด สำหรับแก้ไขปัญหาเด็กที่มีภาวะกินยาก พร้อมให้เด็กได้ลิ้มลองอาหารสาธิตดังกล่าว เด็กชื่นชอบในรสชาติ ผู้ปกครองให้ความสนใจในเมนูหลากหลาย
กิจกรรมที่ 2 ประชุมติดตามสรุปการดำเนินงาน และติดตามภาวะโภชนาการในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ
1.มีการประชุม 3 ครั้ง เดือนละ 1 ครั้ง (ติดตามครั้งที่ 1 ในวันที่ 25 เมย. 2566/ ติดตามครั้งที่ 2. ในวันที่ 23 พค.2566 และติดตามครั้งที่ 3 ในวันที่ 27 มิย.2566 โดยมีอสม. เป็นผู้ติดตามภาวะทุพโภขนาการเด็ก       2.ตามที่ อสม เป็นผู้ติดตามภาวะทุพโภขนาการเด็ก ในพื้นที่ หมู่ ๑ และ หมู่ 2 ตำบลยามู โดยอสม.จำนวน 4๐ คน ได้มีการติดตามเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ อายุ ๐ - ๕ ปี จำนวน 4๐ คน มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และเจาะปลายนิ้วเพื่อหาค่าภาวะซีดในเด็ก ผลปรากฏว่า ติดตามครั้งที่ 1 -  เด็กมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัดเจน จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 97.5 ,ส่วนสูงเพิ่มขึ้น 35 คน คิดเป็นร้อยละ 87.5 และพบภาวะซีดลดลง จากเดิมก่อนเข้าโครงการ ซีด 15 คน คิดเป็นร้อยละ 37.5 ลดลงเป็น 8 คน คิดเป็นร้อยละ 20 โดยรวมทั้งหมดมีแนวโน้มที่ดีขึ้น ติดตามครั้งที่ 2 - เด็กมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นจากติดตามครั้งที่ 1 จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 62.5 ,ส่วนสูงเพิ่มขึ้นจากติดตามครั้งที่ 1 จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 35 และพบภาวะซีดลดลงจากติดตามครั้งที่ 1 เหลือจำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 15 ซึ่งมีแนวโน้มที่ดีขึ้นเรื่อยๆ ติดตามครั้งที่ 3 - เด็กมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นจากติดตามครั้งที่ 2 จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 75 ,ส่วนสูงเพิ่มขึ้นจากติดตามครั้งที่ 2 จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 35 และพบภาวะซีดลดลงจากติดตามครั้งที่ 2 เหลือจำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 5
ตามระยะเวลาดำเนินการของโครงการฯ ผลปรากฏว่า เด็กมีน้ำหนัก และส่วนสูง เพิ่มขึ้นทุกคนเทียบจากก่อนดำเนินโครงการ คิดเป็นร้อยละ 100 ส่วนภาวะซีดพบเด็กที่มีภาวะซีดลดลงเรื่อยๆ ซึ่งมีแนวโน้มไปในทิศทางที่ดีขึ้น
สนับสนุนชุดอุปกรณ์อาหารสำหรับเด็กที่มีภาวะโภชนาการดีขึ้นและดีที่สุดในระยะที่เข้าโครงการ 3 เดือน จำนวน 5 อันดับแรก 1. ด.ช.ซุกรอน หะแว  อายุ 1 ปี 9 เดือน  ที่อยู่ 292/2 หมู่ 1 2. ด.ช.ฟะฮมีย์ ยาลา  อายุ 1 ปี 5 เดือน  ที่อยู่ 115/30 หมู่ 2 3. ด.ญ.ฟิรดาวส์ มะลี  อายุ 4 ปี 2  เดือน  ที่อยู่ 129/2 หมู่ 2 4. ด.ญ.ฮาวา เบ็ญสุหลง อายุ 3 ปี 2 เดือน  ที่อยู่ 85  หมู่ 2 5. ด.ช.อมีรูลมุมีนีน มาหมัด อายุ 1 ปี 4 เดือน ที่อยู่ 317/1 หมู่ 1

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ