กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
ติดตามประเมินผลภาวะโภชนการในเด็ก0-5 ปี1 สิงหาคม 2566
1
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลยะหริ่ง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี แก่ อสม. และผู้ปกครองเด็ก 1.มีผู้เข้าร่วมอบรมทั้งหมดจำนวน 80 คน โดยแบ่งเป็น อสม.จำนวน 40 คน และผู้ปกครองเด็กจำนวน 40 คน มีการประเมินค่าเริ่มต้น โดยการชั่งน้ำหนัก, วัดส่วนสูง และเจาะปลายนิ้วเพื่อค้นหาภาวะซีด ในเด็กทุกคนที่เข้าร่วมอบรม โดยมีนายกเทศมนตรี เป็นประธานเปิดการอบรม พร้อมด้วยปลัดเทศบาล
2.วิทยากรจากโรงพยาบาลยะหริ่งให้ความรู้เรื่องโภชนศาสตร์ในเด็กเล็ก, ความรู้เรื่องพัฒนาการเด็กในแต่ละช่วงวัย ผู้เข้าร่วมอบรมให้ความสนใจ และซักถามประเด็นต่างๆ 3.สาธิตการทำอาหารที่อุดมด้วยโปรตีนและคาร์โบไฮเดรตที่มีคุณภาพ เป็นเมนูอาหารเพื่อพัฒนาโภชนาการ และหลักการใช้พฤติกรรมบำบัด สำหรับแก้ไขปัญหาเด็กที่มีภาวะกินยาก พร้อมให้เด็กได้ลิ้มลองอาหารสาธิตดังกล่าว เด็กชื่นชอบในรสชาติ ผู้ปกครองให้ความสนใจในเมนูหลากหลาย
กิจกรรมที่ 2 ประชุมติดตามสรุปการดำเนินงาน และติดตามภาวะโภชนาการในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ
1.มีการประชุม 3 ครั้ง เดือนละ 1 ครั้ง (ติดตามครั้งที่ 1 ในวันที่ 25 เมย. 2566/ ติดตามครั้งที่ 2. ในวันที่ 23 พค.2566 และติดตามครั้งที่ 3 ในวันที่ 27 มิย.2566 โดยมีอสม. เป็นผู้ติดตามภาวะทุพโภขนาการเด็ก       2.ตามที่ อสม เป็นผู้ติดตามภาวะทุพโภขนาการเด็ก ในพื้นที่ หมู่ ๑ และ หมู่ 2 ตำบลยามู โดยอสม.จำนวน 4๐ คน ได้มีการติดตามเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ อายุ ๐ - ๕ ปี จำนวน 4๐ คน มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และเจาะปลายนิ้วเพื่อหาค่าภาวะซีดในเด็ก ผลปรากฏว่า ติดตามครั้งที่ 1 -  เด็กมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัดเจน จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 97.5 ,ส่วนสูงเพิ่มขึ้น 35 คน คิดเป็นร้อยละ 87.5 และพบภาวะซีดลดลง จากเดิมก่อนเข้าโครงการ ซีด 15 คน คิดเป็นร้อยละ 37.5 ลดลงเป็น 8 คน คิดเป็นร้อยละ 20 โดยรวมทั้งหมดมีแนวโน้มที่ดีขึ้น ติดตามครั้งที่ 2 - เด็กมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นจากติดตามครั้งที่ 1 จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 62.5 ,ส่วนสูงเพิ่มขึ้นจากติดตามครั้งที่ 1 จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 35 และพบภาวะซีดลดลงจากติดตามครั้งที่ 1 เหลือจำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 15 ซึ่งมีแนวโน้มที่ดีขึ้นเรื่อยๆ ติดตามครั้งที่ 3 - เด็กมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นจากติดตามครั้งที่ 2 จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 75 ,ส่วนสูงเพิ่มขึ้นจากติดตามครั้งที่ 2 จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 35 และพบภาวะซีดลดลงจากติดตามครั้งที่ 2 เหลือจำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 5
ตามระยะเวลาดำเนินการของโครงการฯ ผลปรากฏว่า เด็กมีน้ำหนัก และส่วนสูง เพิ่มขึ้นทุกคนเทียบจากก่อนดำเนินโครงการ คิดเป็นร้อยละ 100 ส่วนภาวะซีดพบเด็กที่มีภาวะซีดลดลงเรื่อยๆ ซึ่งมีแนวโน้มไปในทิศทางที่ดีขึ้น
สนับสนุนชุดอุปกรณ์อาหารสำหรับเด็กที่มีภาวะโภชนาการดีขึ้นและดีที่สุดในระยะที่เข้าโครงการ 3 เดือน จำนวน 5 อันดับแรก 1. ด.ช.ซุกรอน หะแว  อายุ 1 ปี 9 เดือน  ที่อยู่ 292/2 หมู่ 1 2. ด.ช.ฟะฮมีย์ ยาลา  อายุ 1 ปี 5 เดือน  ที่อยู่ 115/30 หมู่ 2 3. ด.ญ.ฟิรดาวส์ มะลี  อายุ 4 ปี 2  เดือน  ที่อยู่ 129/2 หมู่ 2 4. ด.ญ.ฮาวา เบ็ญสุหลง อายุ 3 ปี 2 เดือน  ที่อยู่ 85  หมู่ 2 5. ด.ช.อมีรูลมุมีนีน มาหมัด อายุ 1 ปี 4 เดือน ที่อยู่ 317

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี แก่ อสม. และผู้ปกครองเด็ก 1.มีผู้เข้าร่วมอบรมทั้งหมดจำนวน 80 คน โดยแบ่งเป็น อสม.จำนวน 40 คน และผู้ปกครองเด็กจำนวน  40 คน มีการประเมินค่าเริ่มต้น โดยการชั่งน้ำหนัก, วัดส่วนสูง และเจาะปลายนิ้วเพื่อค้นหาภาวะซีด ในเด็กทุกคนที่เข้าร่วมอบรม โดยมีนายกเทศมนตรี เป็นประธานเปิดการอบรม พร้อมด้วยปลัดเทศบาล
2.วิทยากรจากโรงพยาบาลยะหริ่งให้ความรู้เรื่องโภชนศาสตร์ในเด็กเล็ก, ความรู้เรื่องพัฒนาการเด็กในแต่ละช่วงวัย ผู้เข้าร่วมอบรมให้ความสนใจ และซักถามประเด็นต่างๆ 3.สาธิตการทำอาหารที่อุดมด้วยโปรตีนและคาร์โบไฮเดรตที่มีคุณภาพ เป็นเมนูอาหารเพื่อพัฒนาโภชนาการ และหลักการใช้พฤติกรรมบำบัด สำหรับแก้ไขปัญหาเด็กที่มีภาวะกินยาก พร้อมให้เด็กได้ลิ้มลองอาหารสาธิตดังกล่าว เด็กชื่นชอบในรสชาติ ผู้ปกครองให้ความสนใจในเมนูหลากหลาย
กิจกรรมที่ 2 ประชุมติดตามสรุปการดำเนินงาน และติดตามภาวะโภชนาการในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ
1.มีการประชุม 3 ครั้ง เดือนละ 1 ครั้ง (ติดตามครั้งที่ 1 ในวันที่ 25 เมย. 2566/ ติดตามครั้งที่ 2. ในวันที่ 23 พค.2566 และติดตามครั้งที่ 3 ในวันที่ 27 มิย.2566 โดยมีอสม. เป็นผู้ติดตามภาวะทุพโภขนาการเด็ก           2.ตามที่ อสม เป็นผู้ติดตามภาวะทุพโภขนาการเด็ก  ในพื้นที่ หมู่ ๑ และ หมู่ 2 ตำบลยามู โดยอสม.จำนวน  4๐ คน ได้มีการติดตามเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ อายุ ๐ - ๕ ปี  จำนวน  4๐  คน  มีการชั่งน้ำหนัก  วัดส่วนสูง  และเจาะปลายนิ้วเพื่อหาค่าภาวะซีดในเด็ก ผลปรากฏว่า ติดตามครั้งที่ 1 - เด็กมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัดเจน จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 97.5 ,ส่วนสูงเพิ่มขึ้น 35 คน คิดเป็นร้อยละ 87.5 และพบภาวะซีดลดลง จากเดิมก่อนเข้าโครงการ ซีด 15 คน คิดเป็นร้อยละ 37.5 ลดลงเป็น 8 คน คิดเป็นร้อยละ 20 โดยรวมทั้งหมดมีแนวโน้มที่ดีขึ้น ติดตามครั้งที่ 2 - เด็กมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นจากติดตามครั้งที่ 1 จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 62.5 ,ส่วนสูงเพิ่มขึ้นจากติดตามครั้งที่ 1 จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 35 และพบภาวะซีดลดลงจากติดตามครั้งที่ 1 เหลือจำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 15 ซึ่งมีแนวโน้มที่ดีขึ้นเรื่อยๆ ติดตามครั้งที่ 3 - เด็กมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นจากติดตามครั้งที่ 2 จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 75 ,ส่วนสูงเพิ่มขึ้นจากติดตามครั้งที่ 2 จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 35 และพบภาวะซีดลดลงจากติดตามครั้งที่ 2 เหลือจำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 5
ตามระยะเวลาดำเนินการของโครงการฯ ผลปรากฏว่า เด็กมีน้ำหนัก และส่วนสูง เพิ่มขึ้นทุกคนเทียบจากก่อนดำเนินโครงการ คิดเป็นร้อยละ 100 ส่วนภาวะซีดพบเด็กที่มีภาวะซีดลดลงเรื่อยๆ ซึ่งมีแนวโน้มไปในทิศทางที่ดีขึ้น
สนับสนุนชุดอุปกรณ์อาหารสำหรับเด็กที่มีภาวะโภชนาการดีขึ้นและดีที่สุดในระยะที่เข้าโครงการ 3 เดือน  จำนวน 5 อันดับแรก 1. ด.ช.ซุกรอน  หะแว    อายุ 1 ปี 9 เดือน    ที่อยู่ 292/2 หมู่ 1 2. ด.ช.ฟะฮมีย์ ยาลา    อายุ 1 ปี 5 เดือน    ที่อยู่ 115/30 หมู่ 2 3. ด.ญ.ฟิรดาวส์  มะลี    อายุ 4 ปี 2  เดือน  ที่อยู่ 129/2  หมู่ 2 4. ด.ญ.ฮาวา เบ็ญสุหลง  อายุ  3 ปี 2 เดือน    ที่อยู่ 85    หมู่ 2 5. ด.ช.อมีรูลมุมีนีน  มาหมัด อายุ 1 ปี 4 เดือน ที่อยู่ 317

กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็ก0-5 ปีแก่ อสม.และผู้ปกครอง23 มีนาคม 2566
23
มีนาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลยะหริ่ง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และผู้แกครอง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทำให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มมากขึ้น