กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมทักษะปฏิเสธสารเสพติด
รหัสโครงการ 66-L1478-01-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลละมอ
วันที่อนุมัติ 30 มกราคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 มกราคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 15 กันยายน 2566
งบประมาณ 13,675.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ เงินกองทุนหมุนเวียนฯสถานีอนามัยต.ละมอ
พี่เลี้ยงโครงการ นางวลัยภรณ์ เยาว์ดำ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลละมอ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.597,99.753place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ยาเสพติดเป็นปัญหาระดับชาติที่จำเป็นต้องหาทางแก้ไขอย่างเร่งด่วน เพราะสถานการณ์ปัจจุบันการแพร่ระบาดของยาเสพติดในทุกพื้นที่ในประเทศไทยทวีความรุนแรงมากขึ้นอย่างวิตก การแพร่ระบาดอย่างหนักของยาเสพติดเป็นผลให้เยาวชนหลงผิด เข้าสู่วงจรของการซื้อขายและเสพยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ทำให้เป็นอุปสรรค์ในการพัฒนาประเทศและเป็นการทำลายทรัพยากรบุคคลซึ่งเป็นอนาคตในการพัฒนาชาติ และยังสร้างความเดือดร้อนให้กับครอบครัวและชุมชนได้อีกด้วย ดังนั้นชมรมพลังเยาวชนต้านยาเสพติดเล็งเห็นถึงความสำคัญในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดจึงได้จัดโครงการเยาวชนร่วมใจต้านภัยนาเสพติดขึ้นมา เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจให้กับเยาวชน ให้ตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติดและให้ความสำคัญในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด อีกทั้งยังส่งเสริมให้เยาวชนใช้เวลาว่างในการออกกำลังกาย เพื่อเติบโตเป็นบุคคลที่มีคุณค่าในสังคมต่อไป การปฏิเสธ เป็นสิทธิส่วนบุคคลที่ควรเคารพและยอมรับ สามารถใช้ได้กับทุกเรื่องในชีวิตประจำวัน เช่น การปฏิเสธที่จะหนีเรียน การปฏิเสธที่จะใช้ยาเสพติด การปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ก่อนถึงวัยอันควรเป็นต้น การปฏิเสธควรปฏิเสธให้ได้ผลในสถานการณ์ที่ถูกชวนไปทำในสิ่งที่ไม่เกิดประโยชน์หรือเกิดผลเสียตามมา แต่มีวัยรุ่นหลายคนที่ไม่ปฏิเสธเพราะความเกรงใจและกลัวจะเสียเพื่อน ซึ่งเป็นความคิดที่ผิด คนที่ มีทักษะการปฏิเสธที่ดีจะสามารถป้องกันตนเอง และหลีกเลี่ยงที่จะเอาตัวเองไปเสี่ยงอยู่ในสถานการณ์ที่ไม่ ปลอดภัยได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลละมอ จึงเห็นความสำคัญที่จะสร้างทักษะ/ฝึกทักษะการปฏิเสธแก่เด็กและเยาวชน เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถป้องกันตนเองให้และหลีกเลี่ยงสถานการณ์ไม่ดีทั้งหลาย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดประเภทต่างๆ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และมีทักษะการปฏิเสธการชักชวนให้เสพสารเสพติด

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เยาวชนตระหนักถึงโทษของยาเสพติดและวิธีป้องกันให้ห่างไกลกับยาเสพติด
  2. เป็นชุมชนสีขาว ปราศจากยาเสพติด
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 ก.พ. 2566 10:11 น.