กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการการลดปัจจัยเสี่ยง และลดโรควิถีชีวิตใหม่ 3 โรค
รหัสโครงการ 66-L4117-01-14
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละ
วันที่อนุมัติ 28 กุมภาพันธ์ 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2566 - 31 ตุลาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2566
งบประมาณ 23,100.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสูกายนาห์ ดูละสะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 7 มี.ค. 2566 29 ก.ย. 2566 23,100.00
รวมงบประมาณ 23,100.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 186 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือที่เรียกว่า “โรควิถีชีวิต” 5 โรค ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและโรคหลอดเลือดสมอง เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญระดับประเทศและระดับโลก ซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงขึ้น เนื่องมาจากความเจริญทางด้านเทคโนโลยีและสภาพแวดล้อมส่งผลต่อวิถีชีวิตและก่อให้เกิดพฤติกรรมการสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ได้แก่ การบริโภคอาหารที่ไม่สมดุล (ทานหวาน มัน เค็ม มากเกินไป และทานผัก ผลไม้น้อยไป) การเคลื่อนไหวทางกายน้อย การบริโภคยาสูบ การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในปริมาณที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพรวมถึงภาวะเครียด ซึ่งหากไม่สามารถหยุดพฤติกรรมดังกล่าวจะส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรควิถีชีวิต พิการ และเสียชีวิตตามมา นอกจากนี้ ยังสร้างภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาและก่อให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจตามมาอย่างมหาศาลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละเล็งเห็นถึงความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรควิถีชีวิต จึงผลักดันให้เกิดความร่วมมือบูรณาการภายใต้แผนงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป้าหมาย คือ การลดปัจจัยเสี่ยงและลดโรควิถีชีวิตในประชาชน กลุ่มผู้ป่วยจะเน้นจัดระบบในการดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตรวจภาวะแทรกซ้อน และบริการดูแลรักษาเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต. โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลศูนย์และนอกจากนี้จะส่งเสริมศักยภาพชุมชนให้เป็นชุมชนเข้มแข็งสามารถจัดการปัญหาสุขภาพของตนเองได้ ที่เรียกว่า “ชุมชนสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย” และเชื่อว่าจะสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรควิถีชีวิต ลดผู้ป่วยรายใหม่ ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน ไปจนถึงลดการเสียชีวิตและการสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจลงได้
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการลดปัจจัยเสี่ยงและลดโรควิถีชีวิตขึ้นเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความตระหนัก เพิ่มศักยภาพในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม ส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรง ป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรค โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง ที่จะเกิดขึ้นต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มศักยภาพภาคีเครือข่ายในการจัดการสุขภาพในชุมชนให้สามารถจัดการปัจจัยเสี่ยงเพื่อป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรือรังได้

 

0.00
2 เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน ในกลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

 

0.00
3 เพื่อใหมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ป่วยกับผู้ป่วยเอง

 

0.00
4 เพื่อประชาสัมพันธ์และสื่อสารให้ประชาชนรับรู้และเกิดความตระหนักของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อ

 

0.00
5 เพื่อเสรสร้างศักยภาพกลไกขับเคลื่อนการดำเนินงานควบคุมโรคติดต่อ

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 23,100.00 1 23,100.00
1 ม.ค. 66 - 31 ต.ค. 66 กิจกรรมสร้างแกนนำสุขภาพเชิงปฏิบัติการ 3 กลุ่มโรค และกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้ป่วย 0 23,100.00 23,100.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

8.1 ศักยภาพภาคีเครือข่ายในการจัดการสุขภาพ ใขชุมชนให้สามารถจัดการปัจจัยเสี่ยง ป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ 8.2 ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ในกลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
8.3 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ป่วยกับผู้ป่วยด้วยกันเอง
8.4 ได้ประชาสัมพันธ์และสื่อสารให้ประชาชนรับรู้และเกิดความตระหนักของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อ
8.5 เสริมสร้างศักยภาพกลไกขับเคลื่อนการดำเนินงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 ก.พ. 2566 10:16 น.