กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสนามเด็กเล่นสร้างปัญญา เครื่องมือพัฒนาการศึกษาปฐมวัย
รหัสโครงการ 66-L1535-3-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนไทร
วันที่อนุมัติ 22 กุมภาพันธ์ 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 24 มีนาคม 2566 - 24 มีนาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 24 พฤษภาคม 2566
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางมธุรส เทพกิจ
พี่เลี้ยงโครงการ นางมธุรส เทพกิจ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.732,99.607place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 42 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)
20.00
2 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
30.00
3 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
30.00
4 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
40.00
5 ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน
10.00
6 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
30.00
7 ร้อยละของเวลาในโรงเรียนที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)
60.00
8 ร้อยละของสำนักงานหรือหน่วยงานราชการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน
50.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การจัดการศึกษาเป็นสิ่งจำเป็นมากในการพัฒนาประเทศเพราะการให้การศึกษาเป็นการพัฒนาคน ซึ่งเป็นทรัพยากรสำคัญให้มีคุณภาพ จุดมุ่งหมายและหลักการของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 6 ระบุว่าการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ในการพัฒนาและเพิ่มพลังสมองของเด็กในวัยเรียนช่วงอายุ 2-5 ปี จำเป็นต้องมีสื่อที่เป็นอุปกรณ์ในการพัฒนาทักษะทางด้านกล้ามเนื้อและการพัฒนาสมองของนักเรียนวัยนี้ อีกทั้งยังเป็นการเสริมสร้างพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของเด็กปฐมวัยอีกด้วย
การที่จะเลี้ยงดูเด็กให้ประสบความสำเร็จ อย่างมีความสุขนั้น อีกวิธีการหนึ่งคือ เลี้ยงดูผ่าน กระบวนการเล่นเพื่อสร้างการเรียนรู้ทางด้านสมองของเด็กช่วงปฐมวัยอายุแรกเกิดจนถึง 6 ปี ให้เด็กเกิดทักษะ ด้านการคิด รู้จักควบคุมตนเองและวางแผนตั้งเป้าหมายการดำเนินชีวิตให้สำเร็จโดยอาศัย พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก ครูให้การสนับสนุนและกระตุ้นให้เกิดในตัวของเด็ก   ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนไทร จึงจัดทำโครงการส่งเสริมการเล่นเพื่อพัฒนาสมองด้วยเครื่องเล่นกลางแจ้งขึ้น เพื่อพัฒนาและเพิ่มพลังสมองของเด็กในวัยเรียนช่วงอายุ 2.-5 ปี จำเป็นจะต้องมีสื่อที่เป็นเครื่องเล่นสนามเพื่อให้เด็กได้เล่นเพื่อเพิ่มพลังสมอง ตามหลักการแนวคิดสนามเด็กเล็กผ่านสมอง (BBL) เพื่อการเรียนผ่านการเล่นและการออกกำลังกายอย่างสร้างสรรค์ ทั้งยังเป็นการเสริมสร้างพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของเด็กด้วย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

20.00 40.00
2 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

30.00 50.00
3 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

30.00 40.00
4 เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

40.00 60.00
5 เพื่อเพิ่มการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน

ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน

10.00 40.00
6 เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

30.00 60.00
7 เพื่อเพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูนย์ฯเด็กเล็ก

ร้อยละของเวลาในโรงเรียนที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)

60.00 80.00
8 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน

ร้อยละของสำนักงานหรือหน่วยงานราชการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน

50.00 70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณ
1 ค่าวิทยากร(24 มี.ค. 2566-24 มี.ค. 2566) 1,200.00
2 ค่าอาหารว่าง(24 มี.ค. 2566-24 มี.ค. 2566) 1,300.00
3 ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการจัดทำเครื่องเล่น(24 มี.ค. 2566-24 มี.ค. 2566) 17,500.00
รวม 20,000.00
1 ค่าวิทยากร กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 42 1,200.00 0 0.00
24 มี.ค. 66 จำนวน 2 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท จำนวนเงิน 1,200 บาท 42 1,200.00 -
2 ค่าอาหารว่าง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 42 1,300.00 0 0.00
24 มี.ค. 66 จำนวน 52 ชุด ๆ ละ 25 บาท จำนวนเงิน 1,300 บาท 42 1,300.00 -
3 ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการจัดทำเครื่องเล่น กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 42 17,500.00 0 0.00
24 มี.ค. 66 - ค่าล้อยางรถยนต์ จำนวน 34 เส้น ๆ ละ 150 บาท จำนวนเงิน 5,100 บาท - โซ่เหล็ก จำนวน 10 เมตร ๆ ละ 150 บาท จำนวนเงิน 1,500 บาท - สีน้ำมัน จำนวน 7 แกลลอน ๆ ละ 700 บาท จำนวนเงิน 4,900 บาท - เชือกใยยักษ์ จำนวน 50 เมตร ๆ ละ 60 บาท 42 17,500.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาของเด็ก 2 พัฒนาพลังสมองของเด็กวัยเรียนในช่วงอายุ 2- 5 ขวบ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 ก.พ. 2566 17:21 น.