กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างความรู้เรื่องวัคซีนพื้นฐานในเด็ก 0-5 ปี
รหัสโครงการ 66-L4139-2-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมรักษ์สุขภาพ
วันที่อนุมัติ 3 มีนาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 20 มีนาคม 2566 - 29 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 11,595.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางประไพ ขวัญนงรักษ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.597,101.283place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เส็งเห็นถึงความสำคัญว่วัคซีนเป็นเครื่องมือป้องกันโรคที่มีประสิทธิภาพสูง จึงได้นำวัคซีนที่มีคุณภาพและเหมาะสมสำหรับประเท มาบรรจุนโครงกรสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเพื่อให้บริการแก่ประชาชน กลุ่มเป้หมายมายาวนานมากว่า 30 ปีแล้ว โดยมีนโยบายด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่สำคัญคือ การให้บริการวัคซีน ป้องกันโรคที่มีความจำเป็นครอบคลุมงำนวนโรคให้มากที่สุด ให้ครอบคลุม ประชาชนกลุ่มเป้หมายสูงที่สุด ประชากร กลุ่มเป้าหมายสามารถข้าถึงบริการได้อย่างทั่ถึงและเท่เทียมกัน จัดให้มีการให้บริการวัดซีนในทุกระดับของสถานบริการ วัดซีนที่ใช้ต้องมีประสิทธิภาพในการป้องกันโรคสูงและต้องมีความปลอดภัย และให้บริการโดยไม่คิดมูลค่แม้ว่าวัคซีนจะไม่ใช่ ยารักษาโรค แต่วัคซีนก็เป็นเครื่องป้องกันที่ช่วยให้ด็กๆปลอดภัยจากโรคร้ายที่มากล้ำกรายโดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กวัยขวบปีแรก ที่มีอัตราเสี่ยงสูงในการต่อต้านเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกายการรับวัคนเพื่อสร้างภูมิต้านทานเป็นวิธีที่ง่ายดายปลอดภัยและมี ประสิทธิภาพในการป้องกันเด็กจากโรคบางอย่างความสี่ยงจากโรคเหล่นั้นมากมายหลายเท่าเพื่อให้ได้รับภูมิต้านทานที่ ครบถ้วนเด็กจะต้องได้รับวัคนตามเกณฑ์อายุทั้งหมดและควรได้รับตรงเวลาอีกด้วย เนื่องจากหลายปีที่ผ่านมาได้เกิดโรค ระบาดขึ้นในจังหวัดยะลาปัตตานีและนราธิวาส เช่น โรคคอดีบและโรคหัดซึ่งทำให้เด็กตายลงเป็นจำนวนมาก เด็กที่เสียชีวิตนั้น ไม่ได้รับการฉีดวัดนเลยแม้แต่ครั้งเดียวจึงไม่มีภูมิต้านทานโรค ในพื้นที่พบว่ามีอัตราการได้รับวัคนต่ำกว่าเกณฑ์ จากผลการ ดำเนินงานใน ปี 2565 ในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพดำบลบ้านทุ่งยามูอัตราความครอบคลุมการได้รับวัคซีนเด็กอายุ ปีคิดเป็นร้อยละ 91.58 เด็กอายุ 2 ปี ความครอบคลุมคิดเป็นร้อยละ 90.49 เต็กอายุ 3 ปี คิดเป็นร้อยละ 88.37 และเต็ก อายุ ยึ คิดเป็นร้อยละ 86.79 ตามลำดับ พบว่มีความครอบคลุมต่ำกว่า ร้อยละ 9 ซึ่งสาเหตุเกิตจากผู้ปกครองไม่ตระหนัก ถึงความสำคัญของวัคน หรือกลัวลูกเจ็บไข้ได้ป่วยหลังการรับวัคซีน(จากการวิเคราะห์ในเวที่ประชาคม) จึงไม่นำเด็กมารับ บริการฉีดวัคซีน ซึ่งโรคเหล่านี้สามารถป้องกันได้ด้วยการฉีตวัดซีน ตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค จึง จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักและเห็นความสำคัญของการฉีดวัคซีนเพื่อคันหาและนำเด็กที่รับบริการวัคซีนไม่ ครบตามเกณฑ์ที่กำหนดมารับบริการให้ครบตามเกณฑ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดีตระหนักถึงความสำคัญของการ สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค จึงจัดทำโครงการนี้ชื้นเพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักและเห็นความสำคัญของการฉีวัคซึนเพื่อค้นหาและ นำเด็กที่รับบริการวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ที่กำหนดมารับบริการให้ครบตามเกณฑ์

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้เสริมสร้างความรู้และความเข้าใจแก่ผู้ปกครองเด็กในเรื่องการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก

1.ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีมีความรู้ในเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ร้อยละ 80 2.ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี พาบุตรหลานมารับวัคซีนตามกำหนดผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 3.ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีมีส่วนในกิจกรรมงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคมากขึ้นผ่านเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

2 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีน ครบถ้วนตามเกณฑ์

1.ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีมีความรู้ในเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ร้อยละ 80 2.ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี พาบุตรหลานมารับวัคซีนตามกำหนดผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 3.ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีมีส่วนในกิจกรรมงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคมากขึ้นผ่านเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.สำรวจข้อมูล 0-5 ปีในเขตรับผิดชอบ 2.ประชุม อสม. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข เพื่อเตรียมการดำเนินงาน 3.ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ 4.กิจกรรมตรวจสุขภาพตรวจพัฒนาและตรวจสุขภาพช่องปาก 5.กิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้ ความต้องการ ของผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี 6.เยี่ยมบ้านและฉีดวัคซีนเด็ก 0-5 ปี พร้อมแจกของที่ระลึกเป็นแรงจูงใจ และกระตุ้นพัฒนาการเด็กตามเกณฑ์อายุ 7.สรุปผลการดำเนินโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีเด็กป่วยจากโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีนร้อยละ 0 2.เด็ก 0-5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุร้อยละ 80

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 8 มี.ค. 2566 14:41 น.