กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง


“ โครงการดูแลมารดาและทารก ในเขตเทศบาลนครตรัง ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายอาธร อุคคติ

ชื่อโครงการ โครงการดูแลมารดาและทารก ในเขตเทศบาลนครตรัง ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2566-L6896-01-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลมารดาและทารก ในเขตเทศบาลนครตรัง ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลมารดาและทารก ในเขตเทศบาลนครตรัง ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลมารดาและทารก ในเขตเทศบาลนครตรัง ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2566-L6896-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แผนยุทธศาสตร์สุขภาพแห่งชาติ ยุทธศาสตร์เร่งการเสริมสร้างสุขภาพ คนไทยเชิงรุกให้ความสำคัญกับการปฏิรูปด้านสุขภาพเพื่อให้คนไทยทุกช่วงวัย มีสุขภาพแข็งแรง เร่งรัดพัฒนาระบบการดูแลเด็กให้มีพัฒนาการ ที่สมวัย เสริมสร้างความร่วมมือในการดูแลเด็กให้เด็กเกิดอย่างมีคุณภาพเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ แข็งแรงพร้อมเรียนรู้ส่งเสริมการเลี้ยงดูด้วยนมแม่ สรรค์หาสื่อหรืออุปกรณ์ในการเสริมสร้างพัฒนาการเด็กในแต่ละช่วงวัย เพื่อกระตุ้นให้มีความฉลาดทางสติปัญญาและอารมณ์ ตัวชี้วัดพัฒนาการเด็กสมวัยในเด็ก 0-5 ปี ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85 โดยมีมาตรการ และแนวทางการพัฒนาระบบ เพื่อการจัดการกับปัจจัยที่กำหนดสุขภาพ โดย “พัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพ” ในปี 2565 กระทรวงสาธารณสุขแสดงข้อมูลพัฒนาการสมวัยในเด็ก 0-5 ปี ร้อยละ 81.11 ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์ ที่กระทรวงฯ กำหนดไว้ การดูแลมารดาทารกหลังคลอดมุ่งดูแลทั้งมารดา ให้มีความปลอดภัย แข็งแรง สามารถปฏิบัติตนหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง มีสุขภาพกายสุขภาพจิตดี ทั้งยังต้องดูแลทารกให้มีสุขภาพดีในช่วง 45 วันแรกหลังคลอดและยังต้องวางพื้นฐานพัฒนาการในช่วงขวบปีแรกให้ดี เพราะพัฒนาการ ในขวบปีแรก เป็นการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว ทั้ง 5 ด้าน คือ ด้านการเคลื่อนไหว กล้ามเนื้อ และสติปัญญา การใช้ภาษา การเข้าใจภาษา การช่วยเหลือตนเอง ครอบครัวควรมีความรู้ในการส่งเสริมพัฒนาการ เพื่อให้ทารกเติบโต อย่างสมบูรณ์ หากมีปัญหาสามารถแก้ไข ได้อย่างทันท่วงที งานศูนย์บริการสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครตรัง ตระหนักถึงความสำคัญของทารกให้มีสุขภพแข็งแรง มีพัฒนาการสมวัย เป็นประชากรที่มีคุณภาพในอนาคต ทั้งยังดูแลมารดาให้มีสุขภาพกาย จิตที่ดีพร้อมในการดูแลบุตรให้เจริญเติบโตอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับการส่งเสริมเลี้ยงดูบุตรด้วยนมมารดาอย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน
  2. เพื่อให้มารดาได้รับความรู้ในการดูแลตนเอง และทารกในขณะหลังคลอด
  3. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทารกให้มีพัฒนาการสมวัยในช่วงขวบปีแรก
  4. เพื่อให้มารดาหลังคลอด ได้รับการเยี่ยม 3 ครั้งตามเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม สำรวจจำนวนเด็กที่เกิดใหม่ ในเขตเทศบาลนครตรัง
  2. กิจกรรมเยี่ยมมารดาและทารกหลังคลอด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มารดาหลังคลอดได้รับความรู้เรื่องการดูแลตนเองและบุตรหลังคลอดอย่างถูกต้อง
  2. มารดาหลังคลอด มีความรู้เรื่องอาการผิดปกติหลังคลอดที่ควรไปพบแพทย์ และมารดามีความปลอดภัย จากภาวะวิกฤต
  3. มารดาสามารถให้นมมารดาแก่ทารกได้ไม่ต่ำกว่า 6 เดือน
  4. มารดาหลังคลอดและทารกได้รับการเยี่ยมต่อเนื่อง สามารถลดปัญหาภาวะแทรกซ้อนที่ไม่พึงประสงค์ได้
  5. เด็ก 0 - 1 ปี ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการอย่างถูกต้องจากมารดาและบุคคลรอบข้างในครอบครัว ทำให้มีพัฒนาการ ที่สมวัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเยี่ยมมารดาและทารกหลังคลอด

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนเตรียมการ 1.ประชุมคณะทำงานเพื่อกำหนดวัตถุประสงค์และรายละเอียดการดำเนินงาน 2.นำข้อมูลมารดาและทารกหลังคลอดในปีงบประมาณที่ผ่านมา  ใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนการดำเนินการ 3.เสนอโครงการ เพื่อขออนุมัติโครงการ ขั้นดำเนินงาน กิจกรรมที่ 1 สำรวจจำนวนเด็กที่เกิดใหม่ ในเขตเทศบาลนครตรัง 1.สำรวจข้อมูลจากงานทะเบียนราษฎร์ เทศบาลนครตรัง 2.ข้อมูลจากบัตรอนามัยแม่และเด็กหลังคลอด (V-Card) ที่ได้รับแจ้งจากโรงพยาบาลศูนย์ตรัง 3.ข้อมูลจากการที่ อสม. สำรวจพบมารดา และทารกหลังคลอด ในชุมชน กิจกรรมที่ 2 เยี่ยมมารดา และทารกหลังคลอด 1.รวบรวมรายชื่อมารดา-ทารกหลังคลอดในพื้นที่รับผิดชอบจากข้อมูลที่ได้รับและมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ประจำพื้นที่ดูแลติดตามเยี่ยม 2.พยาบาลประจำพื้นที่ดูแลให้ความรู้และคำแนะนำแก่อาสาสมัครสาธารณสุขในการลงเยี่ยมมารดาและทารกหลังคลอดที่บ้าน 3.เจ้าหน้าที่จากศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลนครตรัง/เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลศูนย์ตรังออกเยี่ยมมารดา-ทารก หลังคลอดในเขตพื้นที่รับผิดชอบที่บ้าน 4.ขณะเยี่ยมมารดาและทารก ดูแลซักประวัติตรวจร่างกาย บันทึกข้อมูลตามแบบบันทึกสุขภาพมารดา (แบบ 4 )
และแบบบันทึกสุขภาพเด็กฯ (แบบ 5) และให้การพยาบาล/คำแนะนำในการปฏิบัติตัวหลังคลอดของมารดา, การดูแลทารกหลังคลอดฯ
5.ให้ความรู้เรื่องการกระตุ้นพัฒนาการเด็กในขวบปีแรก  การสังเกตุความผิดปกติ  การแจ้งเมื่อพบความผิดปกติ 6.สรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินการสำรวจข้อมูลจากงานทะเบียนราฎร์ เทศบาลนครตรัง ข้อมูลจากบัตรอนามัยแม่และเด็ก (V-Card) ที่ได้รับแจ้งจากโรงพยาบาลศูนย์ตรัง ข้อมูลจาก อสม. สำรวจพบมารดาและทารกหลังคลอด ในชุมชน สำรวจขำนวนเด็กเกิดใหม่ที่พักอาศัยในเขตเทศบาลนครตรัง จำนวน 122 ราย มีการลงเยี่ยมมารดา จำนวน 120 คน และทารกหลังคลอด จำนวน 122 คน ซึ่งมีฝาแฝด จำนวน 2 คู่ โดยพยาบาลประจำพื้นที่มีการให้ความรู้และคำแนะนำแก่อาสาสมัครสาธารณสุขในการลงเยี่ยมมารดาและทารกหลังคลอดที่บ้าน พร้อมทั้งมีการจัดกิจกรรมให้ความรู้ อสม เกี่ยวกับการดูแลมารดาและทารกหลังคลอด และเจ้าหน้าที่จากศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลนครตรัง/เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลศูนย์ตรังออกเยี่ยมมารดาและทารกหลังคลอดในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบที่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 100 ในการเยี่ยมมีการซักประวัติตรวจร่างกาย ให้การพยาบาล ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังคลอดของมารดา การดูแลทารก การกระตุ้นพัฒนาการ ส่งเสริมพัฒนาการโดยการสาธิตและมอบชุดส่งเสริมพัฒนาการเด็กทุกคนที่ได้รับการเยี่ยม

 

125 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับการส่งเสริมเลี้ยงดูบุตรด้วยนมมารดาอย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน
ตัวชี้วัด : มารดาหลังคลอดเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา ร้อยละ 30

 

2 เพื่อให้มารดาได้รับความรู้ในการดูแลตนเอง และทารกในขณะหลังคลอด
ตัวชี้วัด : มารดาได้รับความรู้ในการดูแลตนเองและทารก ในขณะหลังคลอด ร้อยละ 85

 

3 เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทารกให้มีพัฒนาการสมวัยในช่วงขวบปีแรก
ตัวชี้วัด : ทารกมีพัฒนาการสมวัยในช่วงขวบปีแรก ร้อยละ 85

 

4 เพื่อให้มารดาหลังคลอด ได้รับการเยี่ยม 3 ครั้งตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : มารดาหลังคลอด ได้รับการเยี่ยม 3 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 85

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับการส่งเสริมเลี้ยงดูบุตรด้วยนมมารดาอย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน (2) เพื่อให้มารดาได้รับความรู้ในการดูแลตนเอง และทารกในขณะหลังคลอด (3) เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทารกให้มีพัฒนาการสมวัยในช่วงขวบปีแรก (4) เพื่อให้มารดาหลังคลอด ได้รับการเยี่ยม 3 ครั้งตามเกณฑ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม สำรวจจำนวนเด็กที่เกิดใหม่ ในเขตเทศบาลนครตรัง (2) กิจกรรมเยี่ยมมารดาและทารกหลังคลอด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการดูแลมารดาและทารก ในเขตเทศบาลนครตรัง ปีงบประมาณ 2566

รหัสโครงการ 2566-L6896-01-06 ระยะเวลาโครงการ 1 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการดูแลมารดาและทารก ในเขตเทศบาลนครตรัง ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2566-L6896-01-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาธร อุคคติ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด