กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง


“ กลองยาวสร้างสุข บ้านโคกดีปลี ปี 66 ”

หมู่ที่ 3 บ้านโคกดีปลี ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก

หัวหน้าโครงการ
นายยมนา สุวรรณ์

ชื่อโครงการ กลองยาวสร้างสุข บ้านโคกดีปลี ปี 66

ที่อยู่ หมู่ที่ 3 บ้านโคกดีปลี ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L3065-2-08 เลขที่ข้อตกลง 08/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"กลองยาวสร้างสุข บ้านโคกดีปลี ปี 66 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 3 บ้านโคกดีปลี ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
กลองยาวสร้างสุข บ้านโคกดีปลี ปี 66



บทคัดย่อ

โครงการ " กลองยาวสร้างสุข บ้านโคกดีปลี ปี 66 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 3 บ้านโคกดีปลี ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก รหัสโครงการ 66-L3065-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,260.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 143 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขที่ได้มีการรณรงค์สร้างสุขภาพอยู่ทุกๆปี โดยมีวัตถุประสงค์ให้ประชาชนองค์กรหน่วยงานภาครัฐและเอกชนภาคประชาชนตระหนักในเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเองครอบครัวและชุมชน เพื่อการมีสุขภาพที่ดี ตามแผนพัฒนายุทธศาสตร์แห่งชาติโดยมีวิสัยทัศน์ที่จะทำให้ประชาชนไทยอยู่เย็นเป็นสุข ทั้งกาย ใจปัญญาและจิตวิญญาณ มีสัมมาอาชีพทำงานด้วยความสุข ดำรงชีวิตอยู่บนพื้นฐานความพอดี พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มภัยในตัวที่ดี ภายใต้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ส่งผลให้ครอบครัวอบอุ่น มั่นคง อยุ่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีสุขภาพแข็งแรง อายุยืนยาว และหนึ่งในเป้าหมายที่สำคัญของมิติทางกายคือให้คนไทยออกกำลังกายสม่ำเสมอจากนโยบาย นำซ่อมของกระทรวงสาธารณสุขที่มุ่งเน้นให้ประชาชนรวมกลุ่มกันดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชน เพื่อให้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมพฤติกรรมสุขภาพ 6 อ. ได้แก่ ออกกำลังกาย อาหารปลอดภัย อารมณ์ อโรคยา อนามัยสิ่งแวดล้อมและอบายมุข โดยมีเป้าหมายให้ประชาชน ได้มีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน กิจกรรมการขยับกาย การเคลื่อนไหวทางกาย เป็นการสร้างเสริมสุขภาพได้รับการนิยมอย่างแพร่หลายดังจะเห็นได้จากการมีชมรม กลุ่มออกกำลังกายในรูปแบบต่างๆ เช่น รำไม้พลอง โยคะ ฟุตบอล กลองยาว เป็นต้น ทั้งนี้เนื่องจากการออกกำลังกายเป็นเครื่องมือในการสร้างเสริมสุขภาพที่มีค่าใช้จ่ายในการการนำไปสู่สุขภาพแข็งแรง สุขภาพจิตดี ส่งผลให้คุณภาพชีวิตที่ดีปลอดจากโรคภัยไข้เจ็บ ซึ่งการออกกำลังกาย การตีกลองยาวหรือที่ทุกคนมักคุ้นกับการเรียก เป็นรูปแบบการออกกำลังกายที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายเป็นอย่างมากในปัจจุบัน ตั้งแต่ระดับชุมชนชนบท ชุมชนเมือง ซึ่งเป็นการขยับกายที่สร้างความสนุกสนาน เพลิดเพลิน แต่ให้ผลที่คุ้มค่าต่อสุขภาพอย่างยิ่ง ทางชมรมคณะกลองยาว หมู่ที่ 3 บ้านโคกดีปลี จึงได้จัดทำโครงการกลองยาวสร้างสุข บ้านโคกดีปลี ปี 66เพื่อเป็นการจัดกิจกรรมบูรณาการร่วมระหว่างการเคลื่อนไหว การขยับกาย กับ การอนุรักษ์กิจกรรมประเพณีอันดีงาม ที่มีอยู่ยาวนานในพื้นที่ ส่งเสริมให้ประชาชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สร้างความสุขให้แก่สมาชิกชมรมและผู้เข้าร่วมกิจกรรม จึงขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์กรบริหาารส่วนตำบลตุยง เพื่อมาใช้ในการจัดทำกิจกรรม และสนับสนุนเพื่อให้การจัดกิจกรรมต่างๆเป็นไปอย่างต่อเนื่อง และส่งเสริมให้ประชาชนและเยาวชนในหมู่บ้าน และพื้นที่ใกล้เคียง เห็นความสำคัญของกิจกรรมการกคลื่อนไหวทางกายในรูปแบบเชิงบูรณาการร่วมกับประเพณี วัฒนธรรมในพื้นที่ เพื่อให้มีสุขภาพร่างกาย จิตใจที่ดี สร้างความสามัคคีในชุมชน เกิดเป็นภาคีเครือข่ายสร้างสุขภาพในพื้นที่ และเป็นการอนุรักษ์กิจกรรมที่ดีให้เยาวชนรุ่นหลังได้มีการสืบทอดต่อไป จึงได้จัดทำโครงการกลองยาวสร้างสุข บ้านโคกดีปลี ปี 66 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกชมรม ประชาชน มีกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกาย การขยับกาย มีสุขภาพจิต กายดี
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพชมรมในการส่งเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ส่งเสริมการมีส่วนร่วม
  2. ส่งเสริมกิจกรรมการเฝ้าระวัง การควบคุมโรค เรื้อรัง
  3. พัฒนาศักยภาพองค์ความรู้
  4. ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหว การขยับกาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 143
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ประชาชนมีสุขภาพจิต กายดี 2. มีกิจกรรมการออกกำลังกายแบบบูรณาการกับประเพณีต่างๆอย่างต่อเนื่อง 3. เป็นการรักษาขนบธรรมเนียม ประเพณีที่ดีของท้องถิ่น 4. ประชาชนในพื้นที่ได้มีการจัดกิจกรรมร่วมกัน สร้างความสามัคคี 5. ประชาชนมีองค์ความรู้ในการสร้างสรรค์ สืบทอดศิลปะการแสดงกลองยาวได้ 6. อัตราความเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ส่งเสริมการมีส่วนร่วม

วันที่ 6 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ส่งเสริมการมีส่วนร่วมโดยการจัดประชุมสมาชิกชมรม เครือข่ายสร้างสุขภาพในพื้นที่   - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  25 บาท x 100 คน  เป็นเงิน  2,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีการจัดประชุมอย่างต่อเนื่อง
  2. ผู้เข้าร่วมประชุมเข้าใจและดำเงินตามแผน มติที่ประชุมอย่างต่อเนื่อง
  3. เกิดการมีส่วนร่วมในทุกกิจกรรม

 

0 0

2. ส่งเสริมกิจกรรมการเฝ้าระวัง การควบคุมโรค เรื้อรัง

วันที่ 27 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจคัดกรองโรคความดัน/เบาหวานเบื้องต้นร่วมกับเครือข่ายสุขภาพในพื้นที่    - ไม่ใช้งบประมาณ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีการคัดกรองโรคความดัน/เบาหวาน
  2. มีข้อมูลการคัดกรองโรค และนำข้อมูลไปแก้ไขปัญหาตามกระบวนการต่อไป

 

0 0

3. พัฒนาศักยภาพองค์ความรู้

วันที่ 2 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ส่งเสริมองค์ความรู้ในการเฝ้าระวังป้องกันโรคความดัน/เบาหวาน โดยการจัดอบรมแกนนำสมาชิกชมรม ประชาชน  เรื่อง โรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน
- ค่าอาหารกลางวัน 60 บาท x 40 คน  เป็นเงิน 2,400  บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  35 บาท x 2 มื้อ x 40 คน  เป็นเงิน  2,800 บาท - ค่าสัมนาคุณวิทยากร  600 บาท x 4 ชม.  เป็นเงิน 2,400 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรค และนำไปเผยแพร่ หรือปฏิบัติตัวต่อไป

 

0 0

4. ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหว การขยับกาย

วันที่ 1 กรกฎาคม 2566 เวลา 19:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ส่งเสริมกิจกรรมที่มีการเคลื่อนไหวทางกาย ด้วยการใช้กลองยาวเป็นนวัตกรรม เพื่อสร้างสุขภาพที่ดีทั้งกายและใจและสืบสานประเพณีที่ดีงาม (สัปดาห์ละ 3 ครั้งๆละ ไม่น้อยกว่า 30 นาที) - ค่าวัสดุ อุปกรณ์  9,160 บาท   (หนังกลองยาว, ค่าขึ้นหนังกลอง, ผ้ากลองยาว และ วัสดุอื่นๆ)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีกิจกรรมการเคลื่อนไหว ขยับกาย อย่างต่อเนื่อง
  2. มีวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ในกิจกรรม
  3. สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ ชุมชนน่าอยู่

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกชมรม ประชาชน มีกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกาย การขยับกาย มีสุขภาพจิต กายดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของสมาชิกชมรม ประชาชน มีกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกาย การขยับกายอย่างต่อเนื่อง
143.00 85.80

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพชมรมในการส่งเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ชมรมมีการพัฒนาและมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่องทุกปี
1.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 143
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 143
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกชมรม ประชาชน มีกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกาย การขยับกาย มีสุขภาพจิต กายดี (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพชมรมในการส่งเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่งเสริมการมีส่วนร่วม (2) ส่งเสริมกิจกรรมการเฝ้าระวัง การควบคุมโรค เรื้อรัง (3) พัฒนาศักยภาพองค์ความรู้ (4) ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหว การขยับกาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


กลองยาวสร้างสุข บ้านโคกดีปลี ปี 66 จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L3065-2-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายยมนา สุวรรณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด