กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
3.1 อบรมให้ความรู้การป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะ30 พฤษภาคม 2566
30
พฤษภาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนสุขภาพตำบลอบต.ยะหา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
  2. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ
  3. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  4. การดำเนินกิจกรรม 4.1 อบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะ ให้กับเด็กนักเรียนในพื้นที่ตำบลยะหา 4.2 ส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมบูรณาการออกประชาสัมพันธ์ ร่วมรณรงค์และแจกแผ่นพับประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาไข้เลือดออก โรคมาลาเรีย และโรคตาแดง 4.3 จัดกิจกรรมการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในบริเวณโรงเรียน, ชุมชน, วัด, มัสยิด โดยออกดำเนินการทุกเดือน (เดือนละ 2 ครั้ง)
    4.4 กิจกรรมการลงพื้นที่ฉีดพ่นสารเคมี (หมอกควัน) เพื่อกำจัดยุงลาย ได้แก่ บริเวณสถานศึกษา, วัด, มัสยิด, ปอเนาะ โดยออกดำเนินการแห่งละ 2 ครั้ง
    3.1 อบรมให้ความรู้การป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะเป็นเงิน 22,800 บาท รายละเอียดดังนี้ 1) ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน1,800 บาท 2) ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 150 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน7,500 บาท 3) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 150 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน7,500 บาท 4) ค่าวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับใช้ในการจัดกิจกรรม เช่น สมุด ปากกา แฟ้มใส่เอกสาร จำนวน 150 ชุด ๆ ละ 40 บาท เป็นเงิน6,000 บาท 5) ป้ายไวนิลโครงการจำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 800 บาท รวมเงิน 23600 บาท
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เด็ก เยาวชนและประชาชนในพื้นที่ตำบลยะหา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 2.สามารถกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ตำบลยะหา 3.ในพื้นที่ตำบลยะหา มีสภาวการณ์การเกิดโรคที่ไม่อยู่ในระดับที่เป็นอันตรายและไม่มีผู้ที่เสียชีวิต จากโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะ 4.ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนทุกพื้นที่ในเขตตำบลยะหา

กิจกรรมรณรงค์ เฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อใดยมีแมลงเป็นพาหะ30 พฤษภาคม 2566
30
พฤษภาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนสุขภาพตำบลอบต.ยะหา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

2.กิจกรรมรณรงค์ เฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะ จำนวนเงิน 21,000 บาทรายละเอียดดังนี้ 1) ค่าทรายกำจัดลูกน้ำยุงลาย (ทรายอะเบท)จำนวน 3 ถัง ๆ ละ 6,500 บาท เป็นเงิน 19,500 บาท 2)ค่าป้ายรณรงค์(ป้ายโฟมบอร์ดขนาด 0.5 x 0.5) จำนวน 5 ป้ายละ 300 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท 3)ค่าแผ่นพับสีรณรงค์โรคไข้เลือดออก,มาลาเรีย,ตาแดง จำนวน 600 แผ่น ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท

รวมเงิน 27000 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เด็ก เยาวชนและประชาชนในพื้นที่ตำบลยะหา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  2. สามารถกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ตำบลยะหา
  3. ในพื้นที่ตำบลยะหา มีสภาวการณ์การเกิดโรคที่ไม่อยู่ในระดับที่เป็นอันตรายและไม่มีผู้ที่เสียชีวิต จากโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะ
  4. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนทุกพื้นที่ในเขตตำบลยะหา
กิจกรรมพ่นสารเคมี (หมอกควัน)1 เมษายน 2566
1
เมษายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนสุขภาพตำบลอบต.ยะหา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมพ่นสารเคมี (หมอกควัน) จำนวนเงิน 62,200 บาท รายละเอียดดังนี้ 1) ค่าน้ำยาพ่นหมอกควัน จำนวน 6 ขวด ๆ ละ 2,400 บาทเป็นเงิน 14,400 บาท 2) ค่าน้ำมันดีเซล และน้ำมันเบนซิน จำนวน 200 ลิตรเป็นเงิน 10,000 บาท 3) ค่าจ้างเหมาพ่นสารเคมี (หมอกควัน)
(ในสถานศึกษา, วัด, มัสยิด, ส่วนราชการ)
จำนวน 11 แห่ง ๆ ละ 2 ครั้ง ๆ ละ 300 บาท จำนวน 3 คน เป็นเงิน19,800 บาท 4) ค่าจ้างเหมาพ่นสารเคมี (หมอกควัน)
(บริเวณครัวเรือนในพื้นที่ กรณีเกิดโรคระบาด) จำนวน 30 ครัวเรือน ๆ 3 ครั้ง ๆ ละ 200 บาท จำนวน 1 คนเป็นเงิน 18,000 บาท

รวมเงิน 62200 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เด็ก เยาวชนและประชาชนในพื้นที่ตำบลยะหา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 2.ิ สามารถกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ตำบลยะหา
  2. ในพื้นที่ตำบลยะหา มีสภาวการณ์การเกิดโรคที่ไม่อยู่ในระดับที่เป็นอันตรายและไม่มีผู้ที่เสียชีวิต จากโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะ
  3. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนทุกพื้นที่ในเขตตำบลยะหา