กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน


“ โครงการรวมพลังสร้างสุขภาพดีวิถีชุมชน ปีงบประมาณ 2566 ”

ม.4,6,8 และ 9 ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายสุรศักดิ์ โอภิธากรณ์

ชื่อโครงการ โครงการรวมพลังสร้างสุขภาพดีวิถีชุมชน ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ม.4,6,8 และ 9 ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L3325-2-1 เลขที่ข้อตกลง 6/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรวมพลังสร้างสุขภาพดีวิถีชุมชน ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.4,6,8 และ 9 ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังสร้างสุขภาพดีวิถีชุมชน ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรวมพลังสร้างสุขภาพดีวิถีชุมชน ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ม.4,6,8 และ 9 ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 66-L3325-2-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างสุขภาพ ถือเป็นกลยุทธ์ทางสุขภาพที่กำลังได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง ว่าจะช่วยกระตุ้นและส่งเสริมให้บุคคลเกิดพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพของบุคคล ช่วยลดอัตราป่วยด้วยโรคต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคที่เกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น โรคหัวใจ และหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคเครียด และโรคมะเร็ง
จากข้อมูลการคัดกรองสุขภาพกลุ่มวัยทำงานและกลุ่มผู้สูงอายุประชาชน เมื่อปี 2565 หมู่ที่ 4 , 6 , 8 และหมู่ที่ 9 ต.มะกอกเหนือ โดย อสม.และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข พบว่ามีกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้นและอัตราผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้น รวมทั้งวัยทำงานที่มีดัชนีมวลกายเกินและอ้วนลงพุง และพบว่าพฤติกรรมสุขภาพที่มีผลต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อ เช่น กิจกรรมทางกายและการออกกำลังกาย การรับประทานอาหาร ภาวะเครียด การบริโภคยาสูบ การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ยังพบในชุมชน กลุ่ม อสม.รพ.สต.บ้านดอนศาลา ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นของการส่งเสริมสุขภาพ จึงได้จัดทำโครงการมหกรรมรวมพลังสร้างสุขภาพดีวิถีชุมชน เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญในการออกกำลังกายและเป็นการปลูกฝังค่านิยมที่ดีให้แก่ประชาชนในเรื่องพฤติกรรมการออกกำลังกาย รวมทั้งส่งเสริมความสามัคคี ความเข้มแข็งในชุมชนและการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีการออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ ไม่น้อยกว่า 30 นาที
  2. เพื่อส่งเสริมความรัก ความสามัคคีของคนในชุมชน
  3. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดภาวะการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานโครงการ
  2. กิจกรรมเดิน วิ่ง เพื่อสุขภาพ
  3. กิจกรรมการแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน
  4. สรุปและประเมินผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ 90
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนเกิดการตระหนักถึงความสำคัญในการสร้างเสริมสุขภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
2. ประชาชนได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว ให้มีพฤติกรรมออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
3. ประชาชนมีส่วนร่วมในการสร้างพฤติกรรมที่ดีในชุมชน 4. อัตราป่วยจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังลดน้อยลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานโครงการ

วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานและผู้สนใจ เพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 65 คน

 

5 0

2. กิจกรรมเดิน วิ่ง เพื่อสุขภาพ

วันที่ 14 สิงหาคม 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพร้อมกันที่ศาลาเอนกประสงค์ หมู่ที่ 6 บ้านสวน ต.มะกอกเหนือ อ.ควนขนุน จ.พัทลุง
1.สาธิตการออกกำลังกายเพื่ออบอุ่นร่างกายก่อนทำกิจกรรมเดิน วิ่ง โดย แกนนำการออกกำลังกาย ด้วยท่า T26
2. หลังจากนั้นผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เคลื่อนขบวนเดิน วิ่ง ปั่นจักรยาน ตามเส้นทางที่กำหนด เริ่มต้นจากศาลาเอนกประสงค์หมู่บ้าน ม.6 บ้านสวน ต.มะกอกเหนือ ผ่านไปยังเส้นทางทุ่งนาข้างร้านไทยเอก ม.6 บ้านสวน ไปตามเส้นทางหลักโยชน์ หมู่ที่ 4 ต.มะกอกเหนือ เดินทางเส้นทางหลักโยชน์ สิ้นสุดเขตทุ่งนา ย้อนกลับเข้าสู่ หมู่ที่ 6 ต.มะกอกเหนือ สิ้นสุดจุดเดินวิ่ง ณ สนามโรงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร) หมู่ที่ 6 ต.มะกอกเหนือ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต ทุกคนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ออกกำลังกายเพื่ออบอุ่นร่างกายกันทุกคน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม  จำนวน 102 คน ผลลัพท์
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความสุข รู้สึกผ่อนคลาย กล้ามเนื้อมีความยืดหยุ่นมากขึ้น

 

0 0

3. กิจกรรมการแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน

วันที่ 14 สิงหาคม 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพร้อมกันที่ศาลาเอนกประสงค์ หมู่ที่ 6 บ้านสวน ต.มะกอกเหนือ อ.ควนขนุน จ.พัทลุง
1.สาธิตการออกกำลังกายเพื่ออบอุ่นร่างกายก่อนทำกิจกรรมเดิน วิ่ง โดย แกนนำการออกกำลังกาย ด้วยท่า T26
2. หลังจากนั้นผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เคลื่อนขบวนเดิน วิ่ง ปั่นจักรยาน ตามเส้นทางที่กำหนด เริ่มต้นจากศาลาเอนกประสงค์หมู่บ้าน ม.6 บ้านสวน ต.มะกอกเหนือ ผ่านไปยังเส้นทางทุ่งนาข้างร้านไทยเอก ม.6 บ้านสวน ไปตามเส้นทางหลักโยชน์ หมู่ที่ 4 ต.มะกอกเหนือ เดินทางเส้นทางหลักโยชน์ สิ้นสุดเขตทุ่งนา ย้อนกลับเข้าสู่ หมู่ที่ 6 ต.มะกอกเหนือ สิ้นสุดจุดเดินวิ่ง ณ สนามโรงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร) หมู่ที่ 6 ต.มะกอกเหนือ
3. รับประทานอาหารว่างช่วงเช้าก่อนเข้าร่วมกิจกรรมเล่นการแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน
4. เปิดโครงการโดยนายกเทศมนตรีตำบลบ้านสวน ผู้กล่าวรายงาน โดย นายสุรศักดิ์ โอภิธากร
5. กิจกรรมแข่งขันกีฬาพื้นบ้านตามกลุ่มสี หลังจากมีกิจกรรมทางกายร่วมกัน แล้วแบ่งทีม 4 สี คือ สีแดง สีฟ้า สีเหลือง และสีเขียว ประเภทของกีฬาพื้นบ้านที่ทำการแข่งขัน คือ แข่งตีกอล์ฟชาวบ้น ,
  วิ่งผลัดกระสอบ ,แข่งตีล้อรถ ,แข่งวิ่งผลัดซุปเปอร์แมน
6. สิ้นสุดการแข่งขัน มีการมอบถ้วยรางวัลกับทีมที่ชนะตามลำดับ โดยได้รับการสนับสนุนถ้วยรางวัลจากบุคคนในชุมชน ม.6 บ้านสวน จำนวน 4 ถ้วยรางวัล เป็นรางวัลชนะเลิศ , รางวัลรองชนะเลิศ
  อันดับ 1 , รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2 และถ้วยรางวัลชมเชย
มีค่าใช้จ่าย ดังนี้
1. ไวนิล จำนวน 4 แผ่น เป็นเงิน 2,000 บาท
2. ค่าอาหารว่าง เป็นเงิน 2,500 บาท
3. ค่าอาหารกลางวัน เป็นเงิน 5,000 บาท
4. ค่าน้ำดื่มระหว่างการเดิน วิ่ง และการแข่งขันกีฬาพื้นบ้านจนเสร็จสิ้นกิจกรรม เป็นเงิน 3,000 บาท
5. ค่าเช่าเครื่องเสียงที่ใช้ในสนาม เป็นเงิน 1,500 บาท
6. ค่าวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน เป็นเงิน 3,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 102 คน

 

0 0

4. สรุปและประเมินผลโครงการ

วันที่ 15 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สรุปและประเมินผลโครงการ สรุปเป็นรูปเล่ม จำนวน 1 เล่ม เป็นเงิน 200 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รูปเล่มโครงการ จำนวน 1 เล่ม

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีการออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ ไม่น้อยกว่า 30 นาที
ตัวชี้วัด : ประชาชนในชุมชนมีการออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ ไม่น้อยกว่า 30 นาที ร้อยละ 60
40.00 60.00

 

2 เพื่อส่งเสริมความรัก ความสามัคคีของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนในชุมชนมีความรัก ความสามัคคี ร้อยละ 100
95.00 100.00

 

3 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดภาวะการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางกายเพิ่มขึ้น ร้อยละ 60
40.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ 90
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีการออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ ไม่น้อยกว่า 30 นาที (2) เพื่อส่งเสริมความรัก ความสามัคคีของคนในชุมชน (3) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดภาวะการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานโครงการ (2) กิจกรรมเดิน วิ่ง เพื่อสุขภาพ (3) กิจกรรมการแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน (4) สรุปและประเมินผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการรวมพลังสร้างสุขภาพดีวิถีชุมชน ปีงบประมาณ 2566

รหัสโครงการ 66-L3325-2-1 รหัสสัญญา 6/2566 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

รูปแบบกิจกรรมสร้างความสามัคคีในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

กลุ่มรักสุขภาพในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการรวมพลังสร้างสุขภาพดีวิถีชุมชน ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L3325-2-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุรศักดิ์ โอภิธากรณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด