กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนปลอดขยะ
รหัสโครงการ 66-L5182-02-14
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านควนขี้แรด
วันที่อนุมัติ 5 กรกฎาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 สิงหาคม 2566 - 29 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 11,752.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ , แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะและสามารถคัดแยกประเภทของขยะได้
70.00
2 ร้อยละของการสร้างจิตสำนึก สร้างพฤติกรรมของเยาวชนในโรงเรียนให้เห็นความสำคัญของการลด การคัดแยก และการกำจัดขยะ
50.00
3 ร้อยละของการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนมีประสิทธิภาพมากขึ้น และลดปริมาณขยะป้องกันการเกิดโรคต่างๆ ที่มาจากขยะ
70.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรงเรียนปลอดขยะ มีวัตถุประสงค์เพื่อกระตุ้น รณรงค์ส่งเสริม สร้างจิตสำนึกและความรู้ ความเข้าใจของนักเรียนในการจัดการขยะในรูปแบบ 3R คือ การลดใช้ (Reduce) การใช้ซ้ำ (Reuse) และการนำมาผ่านกระบวนการเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เนื่องจากปัญหาเรื่องขยะและปัญหาสิ่งแวดล้อม เป็นปัญหาที่สำคัญมากในปัจจุบันที่ส่งผลกระทบกับโรงเรียนและชุมชนเป็นอย่างมาก ทางโรงเรียนบ้านควนขี้แรดเล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงทำโครงการโรงเรียนปลอดขยะขึ้นมา เพื่อให้ครู บุคลากร จำนวน 10 คน นักเรียน จำนวน 50 คน และตัวแทนชุมชน ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญในการช่วยกันแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม และรู้จักคัดแยกขยะ รู้จักการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ได้ใหม่ เพื่อลดปริมาณขยะ รู้จักการเปลี่ยนขยะให้เป็นเงิน รู้จักการประหยัดตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะและสามารถคัดแยกประเภทของขยะได้

ร้อยละของนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะและสามารถคัดแยกประเภทของขยะได้เพิ่มขึ้น

70.00 80.00
2 เพื่อสร้างจิตสำนึก สร้างพฤติกรรมของเยาวชนในโรงเรียนให้เห็นความสำคัญของการลด การคัดแยก และการกำจัดขยะ

ร้อยละของการสร้างจิตสำนึก สร้างพฤติกรรมของเยาวชนในโรงเรียนให้เห็นความสำคัญของการลด การคัดแยก และการกำจัดขยะเพิ่มขึ้น

50.00 70.00
3 เพื่อให้การบริหารจัดการขยะในโรงเรียนมีประสิทธิภาพมากขึ้น และลดปริมาณขยะป้องกันการเกิดโรคต่างๆ ที่มาจากขยะ

ร้อยละของการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนมีประสิทธิภาพมากขึ้น และลดปริมาณขยะป้องกันการเกิดโรคต่างๆ ที่มาจากขยะเพิ่มขึ้น

70.00 80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 11,752.00 5 11,752.00
4 ส.ค. 66 ประชุมคณะทำงาน 0 0.00 0.00
23 ส.ค. 66 อบรมเชิงปฏิบัติการการให้ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะและการบริหารจัดการขยะเพื่อนำมาใช้ใหม่ 0 4,432.00 4,432.00
28 ส.ค. 66 - 8 ก.ย. 66 ขับเคลื่อนกระบวนการนโยบายของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เพื่อการคัดแยกขยะในโรงเรียนสุขภาวะที่ดีให้เกิดขึ้นในโรงเรียน 0 7,320.00 7,320.00
11 - 13 ก.ย. 66 ประเมินผลสุขภาวะที่ดีที่เกิดขึ้นในโรงเรียน 0 0.00 0.00
27 ก.ย. 66 ติดตาม ตรวจสอบผลการดำเนินโครงการ 0 0.00 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียน ครู และบุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องปัญหาขยะที่ส่งผลต่อสุขภาพอนามัย ส่งผลให้นักเรียน ครู และบุคลากรมีสุขภาพพลานามัยที่ดีขึ้น
  2. นักเรียน ครู และบุคลากรเกิดการเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้นในการคัดแยกและการกำจัดขยะ
  3. โรงเรียนสะอาด ขยะน้อยลง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 มี.ค. 2566 13:54 น.