กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพในชุมชน ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
รหัสโครงการ 66-3023-02-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มคน 5 คน
วันที่อนุมัติ 27 มีนาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 31 สิงหาคม 2566
งบประมาณ 5,720.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวไซนะ ลีมะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตะโละไกรทอง อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.627,101.64place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 5,720.00
รวมงบประมาณ 5,720.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตประจำวันของประชาชน ประชาชนมีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว นิยมวัฒนธรรมโลกตะวันตกมากขึ้น จึงทำให้วิ๔ชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย ภาวะเครียดทำให้มีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ซึ่งเป็นโรคจากพฤติกรรมดังกล่าว และถือว่าเป็น "ภัยเงียบ" เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฎอาการ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบของร่างกาย เช่น ตา ไต หลอดเลือดในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปีเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง และยาวนาน มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมาก ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขทุ่งพลา ดำเนินงานเน้นนโยบายเชิงรุก เร่งการป้องกันโรคโดยใช้เครือข่ายระหว่าง แกนนำชุมชน กับ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพราะการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการของประชาชน จะประสบความสำเร็จมีประสิทธิภาพและเกิดความต่อเนื่องยั่งยืน จำเป็นอย่างยิ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องทุกส่วน และใช้กระบวนการที่บูรณาการเชื่อมโยงการดำเนินงาน โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคที่เป็นปัญหาที่สำคัญในพื้นที่และเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จึงได้จัดทำโครงการลดเสี่ยง ลดโรค โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงปี 2564 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนที่รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามมาตรฐาน และมีความเสี่ยง( ความดันโลหิต มากกว่า หรือเท่ากับ 130/80-150/90 mm/hg และระดับน้ำตาลในเลือด แบบงดอาหาร ตั้งแต่ 100-125 mg/dl ที่จะเกิดโรคได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องโดยใช้หลัก3 อ. 2 ส. ไม่ให้ป่วยเป็นโรคเรื้อรังซึ่งมีจำนวน 224 ราย แต่จะคัดเลือก ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ที่สมัครใจ เข้าโครงการก่อน พร้อมทั้งรณรงค์ สร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพ มีพฤติกรรมที่ดี และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง , เพื่อให้ประชาชน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง , เพื่อให้ประชาชนสามารถลดระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือด ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้

ร้อยละ 75 ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง , ร้อยละ 85 ประชาชน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง , ร้อยละ 90 ประชาชนสามารถลดระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือด ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณก.ค. 66ส.ค. 66
1 โครงการสุขภาพในชุมชน ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน(27 มี.ค. 2566-27 มี.ค. 2566) 0.00    
รวม 0.00
1 โครงการสุขภาพในชุมชน ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง 2.ประชาชน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง 3.เพื่อให้ปประชาชน สามรถลดระดับความดันโลหิ และระดับน้ำตาลในเลือด ให้อยู่ในเกณฑ์

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 มี.ค. 2566 14:32 น.