กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
รหัสโครงการ 66L5308209
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปูยู
วันที่อนุมัติ 28 มีนาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 10,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอามีน๊ะ เต๊ะปูยู
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปูยู อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.517,100.124place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้กลุ่มวัยรุ่นมีทักษะชีวิต ทักษะในการป้องกันตัวเอง ทักษะการคิด การวิเคราะห์ ทักษะการต่อรอง ทักษะการ ปฏิเสธ และมีความมั่นใจในตัวเองในการป้องกันการตั้งครรภ์ ไม่พร้อม

 

2 แกนนำชุมชน อสม. กลุ่มวัยรุ่นและผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องอนามัยเจริญพันธ์ เพศศึกษา การคุมกำเนิดที่ เหมาะสม การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่ถูกต้อง จำนวน ๖๐ คน

 

3 ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในกลุ่ม วัยรุ่นตำบลปูยู

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
รวม 0 0.00 0 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ๒. กลุ่มวัยรุ่นมีทักษะชีวิต เข้าถึงเครื่องมือในการป้องกันตัวเอง ป้องกันท้องไม่พร้อมให้ปลอดภัยในเรื่องเพศ ๓. ผู้ปกครองเข้าใจสถานการณ์ปัญหา และให้ความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันแก้ไขปัญหาวัยรุ่นท้องไม่พร้อมในพื้นที่ ๔. มีเครือข่ายการทำงาน เรื่องอนามัยเจริญพันธ์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การป้องกันท้องไม่พร้อมในระดับแกนนำในชุมชน ๕. วัยรุ่น ผู้ปกครอง มีส่วนร่วมในการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา แหล่งเสี่ยง และเสนอแนะแนวทางในการป้องกันแก้ไขปัญหาท้องไม่พร้อมอย่างมีส่วนร่วม

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 มี.ค. 2566 11:18 น.