กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ประชุมชี้แจงวางแผนหาแนวทางร่วม 6 มิ.ย. 2566

 

 

 

 

 

จัดอบรมให้ความรู้ 7 มิ.ย. 2566

 

 

 

 

 

ติดตามเยี่ยมบ้าน 8 มิ.ย. 2566

 

 

 

 

 

จัดเวทีแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ 17 ส.ค. 2566

 

 

 

 

 

ประชุมชี้แจงวางแผนหาแนวทางร่วม 6 มิ.ย. 2566 6 มิ.ย. 2566

 

ประชุมวางแผนหาแนวทางร่วมกับทีมสหวิชาชีพ เพื่อกำหนดปัญหาที่ต้องแก้ไขในชุมชน เกี่ยวกับการจัดโครงการนี้

 

ได้ปัญหาที่ต้องแก้ไขในชุมชน เกี่ยวกับการจัดโครงการนี้

 

จัดอบรมให้ความรู้ 7 มิ.ย. 2566 7 มิ.ย. 2566

 

อบรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก๓อ.๒ส.แก่กลุ่มเป้าหมาย

 

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก๓อ.๒ส.

 

ติดตามเยี่ยมบ้าน 8 มิ.ย. 2566 8 มิ.ย. 2566

 

-มีการติดตามเยี่ยมบ้านโดยอสม.รับผิดชอบในเดือนที่ 1 เดือนที่ 3 และเดือนที่ 6 รวม 3 ครั้งในผู้ป่วยแต่ละคน เจาะ FBS, HbA1C ที่ระยะเวลา 3 เดือน และ 6 เดือน
- มีการติดตามเยี่ยมบ้านโดย จนท.ในผู้ป่วยเดือนที่3 เพื่อประเมินพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนตามหลัก ๓อ.๒ส.

 

กลุ่มเป้าหมายได้รับการเยี่ยมติดตาม ตามแผนที่วางไว้ และสามารถสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและควบคุมความดันโลหิตได้ดีขึ้น มีค่าเฉลี่ย HbA1C ลดลง และ ค่าความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ จากก่อนเข้าร่วมโครงการ สามารถคุมค่าน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมได้อย่างต่อเนื่อง ลดภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น และมีคุณภาพชีวิตที่ดี

 

จัดเวทีแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ 17 ส.ค. 2566 17 ส.ค. 2566

 

จัดเวทีแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ให้กับผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มี HbA1C>7%และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่คุมไม่ได้ โดยพยาบาลผู้จัดการรายกรณี นักกำหนดอาหาร รพช.หนองจิก พยาบาลผู้รับผิดชอบงานโรคเรื้อรัง ระดับอำเภอ นักวิชาการสาธารณสุข

 

1.ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. 2 ส.ที่เหมาะสม
2.ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและควบคุมความดันโลหิตได้ดีขึ้น มีค่าเฉลี่ย HbA1C ลดลง และ ค่าความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ จากก่อนเข้าร่วมโครงการ 3.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการสามารถคุมค่าน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมได้อย่างต่อเนื่อง ลดภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น และมีคุณภาพชีวิตที่ดี 4.ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง กลุ่มเป้าหมายที่เข่าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับ    ไปแนะนำแก่คนในครอบครัวชุมชน ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม เพื่อให้เกิดชุมชนเข้มแข็ง