กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ผู้สูงวัย กายใจ สมบูรณ์ 5 มิติ ปี 2566
รหัสโครงการ 66-L7012-1-05
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อทอง
วันที่อนุมัติ 9 กุมภาพันธ์ 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 35,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสุทธิมา พิชัยวงศ์ธรรมา
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.789,101.135place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

หลักการเหตุผล
  ในปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ คาดว่าในปี2566 จะมีประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีราว 1 ใน 6 ของประชากรทั้งหมด กล่าวตามนิยามของสหประชาชาติ คือ เมื่อประเทศใดมีประชากร อายุ 60 ปีขึ้นไป เกินร้อยละ 10 หรือ ประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไป เกินร้อยละ 7 ของประชากรทั้งหมด ถือว่าประเทศนั้น ได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุตั้งแต่ปี 2547 และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในปี 2567 หรือ อีก 9 ปีข้างหน้า เกิดการเปลี่ยนแปลง โครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ มีผลกระทบต่ออัตราส่วนภาวะพึ่งพิง หรือ ภาวะโดยรวม    ที่ประชากรวัยทำงาน จะต้องเลี้ยงประชากรวัยสูงอายุที่มีจำนวนเพิ่มขึ้น อาจนำไปสู่ปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงปัญหาในด้านสุขภาพ ของผู้สูงอายุด้วย เนื่องจากผู้สูงอายุมีภาวะด้านสุขภาพที่เปลี่ยนแปลง มีความเสื่อมของร่างกาย อวัยวะต่าง ๆ ทั่วไป เริ่มอ่อนแอและเกิดโรคงตาย ภูมิต้านทานโรคน้อยลง รวมถึงมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและสังคมด้วยชุมชน………เขต………..มีผู้สูงอายุจำนวน 974…คน คิดเป็นร้อยละ…………..ของประชากรทั้งหมดในชุมชน………เขต…………..พบว่ามีกลุ่มที่ติดสังคม จำนวน 921 คน ซึ่งมีกลุ่มที่เป็นภาวะพึ่งพิง ได้แก้ กลุ่มติดบ้าน จำนวน 50 คนและกลุ่มติดเตียง จำนวน…3….คน ดังนั้นเพื่อลดภาระการดูแลเพื่อไม่ให้กลุ่มผู้สูงอายุที่ยังไม่เข้าสู่กลุ่มภาวะพึ่งพิงได้ สามารถช่วยเหลือตนเองได้ทั้งทางด้านสุขภาพทางกาย และจิตใจ ผู้สูงอายุกลุ่มดังกล่าวควรได้รับการส่งเสริมให้เกิด ความแข็งแรงทั้งกายและใจ ด้วยความสุข ๕ มิติ ได้แก่
๑. สุขสบาย คือ ความสามารถของผู้สูงอายุในการดูแล สมรรถภาพร่างกายให้คล่องแคล้ว
๒. สุขสนุก คือ ความสามารถของผู้สูงอายุในการเลือกวิถีชีวิตที่รื่นรมย์ สนุกสนาน ๓. สุขสง่า คือ ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจในชีวิต ความภาคภูมใจ ความเชื่อมั่น การได้รับการยอมรับนับถือ
๔. สุขสว่าง คือ ความสามารถของผู้สูงอายุด้านความจำ ความคิดอย่างมีเหตุผล การสื่อสาร การวางแผน และการแก้ไขปัญหา
๕. สุข สงบ คือ ความสามารถของผู้สูงอายุในการรับรู้เข้าใจความรู้สึกของตนเอง รู้จักควบคุมอารมณ์และสามารถจัดการกับ สภาวะอารมณ์ได้ การส่งเสริมความสุขทั้ง ๕ มิตินี้จะทำให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน เห็นความสำคัญในการดูแลผู้สูงอายุในกลุ่มที่มีภาวะพึ่งพิง จึงได้จัดทำโครงการความสุข 5 มิติ ผู้สูงอายุกาย ใจ แข็งแรง มีความสำคัญอย่างยิ่งในการส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพของ ผู้สูงอายุแบบองค์รวม ให้มีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง มีจิตใจเข้มแข็ง และมีคุณภาพชีวิตที่ดี เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถ ดำเนินชีวิตอย่างมีความสุขและตระหนักถึงคุณค่าในตนเอง พร้อมเป็นพลังให้แก่ชุมชนต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุอายุมีความรู้ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพกายและใจของตนเอง

 

80.00
2 เพื่อให้ผู้สูงอายุอายุนำกิจกรรมความสุข ๕ มิติมาใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน

 

80.00
3 เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถดำเนินชีวิตร่วมกับครอบครัวและชุมชนอย่างมีความสุข

 

80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณเม.ย. 66พ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66
1 ประชุมวางแผนหาแนวทางร่วมกับทีมสหวิชาชีพ(3 ก.ค. 2566-3 ก.ค. 2566) 0.00            
2 จัดอบรมให้ความรู้(6 ก.ค. 2566-6 ก.ค. 2566) 9,600.00            
3 จัดเวทีแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ให้กับผู้สูงอายุ(7 ก.ค. 2566-7 ก.ค. 2566) 9,600.00            
4 ติดตามและประเมินผล(26 ก.ค. 2566-26 ก.ค. 2566) 16,400.00            
รวม 35,600.00
1 ประชุมวางแผนหาแนวทางร่วมกับทีมสหวิชาชีพ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 20 0.00 1 0.00
3 ก.ค. 66 ประชุมวางแผนหาแนวทางร่วมกับทีมสหวิชาชีพ 20 0.00 0.00
2 จัดอบรมให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 9,600.00 1 9,600.00
6 ก.ค. 66 จัดอบรมให้ความรู้ 50 9,600.00 9,600.00
3 จัดเวทีแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ให้กับผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 9,600.00 1 9,600.00
7 ก.ค. 66 จัดเวทีแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ให้กับผู้สูงอายุ 50 9,600.00 9,600.00
4 ติดตามและประเมินผล กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 16,400.00 1 16,400.00
26 ก.ค. 66 ติดตามและประเมินผล 50 16,400.00 16,400.00

วิธีดำเนินการ ขั้นเตรียมโครงการ –ประชุมทีมงาน วางแผนหาแนวทางร่วมกันกับตัวแทน อสม.และเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อทอง กำหนดปัญหาที่ต้องการแก้ไขในชุมชน
    - ประชุมกับสหวิชาชีพ แพทย์ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี นักโภชนาการโรงพยาบาลหนองจิก เจ้าหน้าที่ประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อทอง นักวิชาการสาธารณสุข อสม. เพื่อกำหนดบทบาทในการเตรียมความพร้อมในการดำเนินทำกิจกรรมให้เป็นไปตามขั้นตอนและระยะเวลาที่เหมาะสม
      1.ประเมินความสุขของผู้สูงอายุ ก่อนเข้ารับการอบรมด้วยแบบประเมินความสุขคนไทย     2.ให้ความรู้ เรื่อง ความสุข 5 มิติ มีผู้เข้าร่วม     -อบรมให้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก๓อ.๒ส.แก่กลุ่มเป้าหมาย
  - แบ่งกลุ่มเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 15 คน เพื่อฝึกปฏิบัติตามแนวทางคู่มือความสุข 5 มิติ สำหรับผู้สูงอายุ
  - ประเมินความสุขของผู้สูงอายุ
  - จัดเวทีแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ให้กับผู้สูงอายุ โดย พยาบาลผู้รับผิดชอบงาน นักวิชาการสาธารณสุข   - ทำแบบประเมินความพึงพอใจหลังเข้าร่วมโครงการ   -ประชุมถอดบทเรียน การดำเนินโครงการกับทีม สหวิชาชีพ และผู้เกี่ยวข้อง

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้สูงอายุสามารถดำเนินชีวิตอย่างมีความสุขและตะหนักดูแลร่างกายและจิตใจของตนเองได้ สามารถปฏิบัติ กิจวัตรประจำวันได้ตามเกณฑ์ ADL (ตั้งแต่ ๑๒ คะแนน ขึ้นไป

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 31 มี.ค. 2566 12:20 น.