กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
จิตศึกษา16 ตุลาคม 2566
16
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย โรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ด
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. กิจกรรม Nora Body Scan
  2. กิจกรรมนั่งสมาธิก่อนเข้าเรียนภาคบ่าย
  3. กิจกรรมอบรมสุดสัปดาห์
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

นักเรียนมีสุขภาพกายที่แข็งแรงและสุขภาพจิตที่ดี

ส่งเสริมการผลิตผักและอาหารปลอดภัยในโรงเรียน8 มิถุนายน 2566
8
มิถุนายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย โรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ด
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1 การปลูกผักปลอดสารพิษ
2 การเพาะเห็ดนางฟ้า

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. โรงเรียนจัดการอาหารกลางวันที่ให้เด็กได้เข้าถึงปริมาณผักอย่างเพียงพอตามเกณฑ์คำแนะนำขององค์การอนามัยโลกทุกวัน
  2. โรงเรียนมีการปรับเปลี่ยนร้านค้าในโรงเรียนเป็นร้านค้าสีเขียว คือเพิ่มการจำหน่ายผักผลไม้ ปราศจากขนมกรุบกรอบและน้ำอัดลม
  3. โรงเรียนมีการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเล่นของเด็กวัยเรียน และมีการจัดหาอุปกรณ์เพื่อส่งเสริมกิจกรรมกีฬาและการออกกำลังกาย
  4. โรงเรียนมีการจัดทำแปลงเกษตรที่บ้านและโรงเรียน เพื่อปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อให้นักเรียนสามารถเข้าถึงผักได้ง่าย จำนวน 13 แปลง
เสริมสร้างความรู้ด้านภาวะโภชนาการแก่นักเรียน16 พฤษภาคม 2566
16
พฤษภาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย โรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ด
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1 จัดอบรมให้ความรู้ด้านโภชนาการและการดูแลสุขภาพ 2 บูรณาการในการจัดการเรียนรู้ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. นักเรียนในโรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ดชั้น อนุบาลปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 ร้อยละ 100 มีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาวะและมีแนวโน้มปรับพฤติกรรมเพิ่มการบริโภคผัก 2.นักเรียนในโรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ดชั้น อนุบาลปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 ร้อยละ 85 มีอัตราในการบริโภคผักที่ปลอดภัยอย่างเพียงพอตามเกณฑ์คำแนะนำตามช่วงวัยขององค์การอนามัยโลก
การติดตามพฤติกรรม16 พฤษภาคม 2566
16
พฤษภาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย โรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ด
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1 บันทึกน้ำหนักของนักเรียนทุกเดือน 2 ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ภาคเรียนละ 1 ครั้ง 3 นักเรียนสายตรวจอาหารปลอดภัย(แกนนำ อย.น้อย)

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

อัตราชุกของภาวะของน้ำหนักตัวเกินและโรคอ้วนของนักเรียนในโรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ดชั้น อนุบาลปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 ร้อยละ 10.40 (โรงเรียนนับรวมนักเรียนกลุ่มเริ่มอ้วนด้วย)

ส่งเสริมการผลิตผักและอาหารปลอดภัยในโรงเรียน16 พฤษภาคม 2566
16
พฤษภาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย โรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ด
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1 การปลูกผักปลอดสารพิษ
2 การเพาะเห็ดนางฟ้า

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.โรงเรียนจัดการอาหารกลางวันที่ให้เด็กได้เข้าถึงปริมาณผักอย่างเพียงพอตามเกณฑ์คำแนะนำขององค์การอนามัยโลกทุกวัน 2. โรงเรียนมีการปรับเปลี่ยนร้านค้าในโรงเรียนเป็นร้านค้าสีเขียว คือ เพิ่มการจำหน่ายผักผลไม้ ปราศจากขนมกรุบกรอบและน้ำอัดลม 3. โรงเรียนมีการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเล่นของเด็กวัยเรียน และมีการจัดหาอุปกรณ์เพื่อส่งเสริมกิจกรรมกีฬาและการออกกำลังกาย 4. โรงเรียนมีการจัดทำแปลงเกษตรที่บ้านและโรงเรียน เพื่อปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อให้นักเรียนสามารถเข้าถึงผักได้ง่าย จำนวน 14 แปลง

เสริมสร้างความรู้ด้านภาวะโภชนาการแก่นักเรียน16 พฤษภาคม 2566
16
พฤษภาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย โรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ด
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1 จัดอบรมให้ความรู้ด้านโภชนาการและการดูแลสุขภาพ 2 บูรณาการในการจัดการเรียนรู้ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. นักเรียนในโรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ดชั้น อนุบาลปีที่ 2 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 ร้อยละ 100 มีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาวะและมีแนวโน้มปรับพฤติกรรมเพิ่มการบริโภคผัก 2.นักเรียนในโรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ดชั้น อนุบาลปีที่ 2 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 ร้อยละ 85 มีอัตราในการบริโภคผักที่ปลอดภัยอย่างเพียงพอตามเกณฑ์คำแนะนำตามช่วงวัยขององค์การอนามัยโลก
ส่งเสริมอาหารกลางวันที่มีคุณภาพ16 พฤษภาคม 2566
16
พฤษภาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย โรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ด
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. สำรวจเมนูที่หนูชอบ
  2. ใช้โปรแกรมThai School Lunch ในการวางแผนเมนู
  3. ใช้ผลผลิตของนักเรียนมาเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหาร(จากแปลงเกษตรในโรงเรียนและนำมาจากบ้าน)
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. นักเรียนในโรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ดชั้น อนุบาลปีที่ 2 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 ร้อยละ 100 มีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาวะและมีแนวโน้มปรับพฤติกรรมเพิ่มการบริโภคผัก 2.นักเรียนในโรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ดชั้น อนุบาลปีที่ 2 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 ร้อยละ 85 มีอัตราในการบริโภคผักที่ปลอดภัยอย่างเพียงพอตามเกณฑ์คำแนะนำตามช่วงวัยขององค์การอนามัยโลก
การส่งเสริมการออกกำลังกายในโรงเรียน16 พฤษภาคม 2566
16
พฤษภาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย โรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ด
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. กิจกรรม 1 คน 1 กีฬา ทุกวันพุธ เป็นเวลา 60 นาที
  2. กิจกรรมดูแลฐานการเรียนรู้ เป็นเวลา 20 นาที
  3. กิจกรรมทำความสะอาดเขตพื้นที่ เป็นเวลา 30 นาที
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

นักเรียนในโรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ดชั้น อนุบาลปีที่ 2 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีภาวะนํ้าหนักเกิน หรือเป็นโรคอ้วนลดลง จาก ๑๗ คน เป็น ๑๓ คน ลดลงจำนวน ๔ คน