กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้านในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลห้วยยอด
วันที่อนุมัติ 9 พฤศจิกายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 5 มกราคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 31 สิงหาคม 2566
งบประมาณ 14,860.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางรัชนี มาสังข์
พี่เลี้ยงโครงการ นางสุภารัตน์ ภักดี
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลห้วยยอด อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.776,99.632place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 1359 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การวัดความดันโลหิต เป็นการตรวจร่างกายที่สามารถให้ข้อมูลอันเป็นประโยชน์เกี่ยวกับสุขภาพหัวใจและหลอดเลือดเบื้องต้น ซึ่งทำได้ภายในเวลารวดเร็วโดยไม่ก่อให้เกิดความเจ็บปวดใดๆ การวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้านได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นในการติดตามการรักษาของแพทย์ สามารถทำได้ง่าย จากการศึกษาพบว่าค่าความดันโลหิตที่่วัดที่บ้านจะต่ำกว่าค่าที่วัดจากโรงพยาบาล การวัดความดันชนิดนี้เหมาะสำหรับบุคคลที่ความดันสูงที่สถานบริการ แต่วัดที่บ้านพบว่า ปกติ ข้อดี สำหรับผู้ที่ต้องการวัดความดันโลหิตด้วยตัวเองที่บ้าน เพื่อเป็นการควบคุมระดับความดันโลหิต หรือเป็นข้อมูลให้กับแพทย์เพื่อใช้ประกอบการรักษา ได้มีการเตรียมตัวก่อนการวัดความดัน และอยู่ท่านั่งให้ถูกต้อง สงบเงียบ ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลห้วยยอด มีผู้ป่วยในเขตเทศบาลตำบลห้วยยอด ที่ขึ้นทะเบียนความอันโลหิตสูง จำนวน 1,185 คน จากการดำเนินงานที่ผ่านมา ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงบางรายควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ บางรายความดันโลหิตไม่ได้ บางรายความดันโลหิตปกติ บางรายมีการตื่นตระหนกกับการวัดความดันโลหิต ทำให้การประเมินค่าความดันโลหิตในแต่ละครั้ง แตกต่างกันไปมีผลต่อการรักษา และปรับลดขนาดของยา แพทย์จึงมีความจำเป็นต้องให้ผู้ป่วยกลับไปวัดความดันโลหิตที่บ้านต่อเนื่องอย่างน้อย 7 วัน ๆ ละ2 ครั้งคือช่วงเช้าและก่อนนอน แต่ปัญหาอุปสรรคในการดูแลรักษาผู้ป่วยกลุ่มนี้คือไม่มีเครื่องวัดความดันโลหิตที่บ้าน ไม่สะดวกไปวัดที่บ้านอสม. ทำให้ไม่สามารถประเมินความดันโลหิตที่แท้จริงได้ซึ่งมีผลต่อการรักษาของผู้ป่วย ทางศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลห้วยยอด จึงได้จัดทำโครงการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้านต่อเนื่องอย่างน้อย 7 วันๆ ละ 2 ครั้ง คือช่วงเช้าและก่อนนอน แต่ปัญหาอุปสรรคในการดูแลรักษาผู้ป่วยกลุ่มนี้คือไม่มีเครื่องวัดความดันโลหิตที่บ้าน ไม่สะดวกไปวัดที่บ้านอสม. ทำให้ไม่สามารถประเมินความดันโลหิตที่แท้จริงได้ซึ่งมีผลต่อการรักษาของผู้ป่วย ทางศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลห้วยยอด จึงได้จัดทำโครงการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้านในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เพื่อจัดหาเครื่องวัดความดันโลหิตให้ผู้ป่วยได้ยืมไปใช้ที่บ้านเพื่อติดตามค่าความดันโลหิตที่บ้านตอนเช้า-ก่อนนอนอย่างต่อเนื่องคนละ 7 วัน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 -เพื่อให้ผู้ป่วยมีเครื่องวัดความดันโลหิตพร้อมในการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้านตอนเช้า-ก่อนนอนอย่างต่อเนื่องครบ 1สัปดาห์

-ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีมากกว่าร้อยละ 60

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่แพทย์สั่งติดตามค่าความดันโลหิตที่บ้านได้ยืมเครื่องวัดความดันโลหิตไว้ใช้ติดตามค่าความดันโลหิตที่บ้าน 2.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถวัดความดันโลหิตที่บ้านได้เองและควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 เม.ย. 2566 11:06 น.