กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แค


“ โครงการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เพื่อสร้างรากฐานที่ดีของชีวิต ”

หมู่ที่ 1-5 ตำบลแค

หัวหน้าโครงการ
นางปรีดา หัสเอียด

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เพื่อสร้างรากฐานที่ดีของชีวิต

ที่อยู่ หมู่ที่ 1-5 ตำบลแค จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L5177-02-08 เลขที่ข้อตกลง 12/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เพื่อสร้างรากฐานที่ดีของชีวิต จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 1-5 ตำบลแค

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แค ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เพื่อสร้างรากฐานที่ดีของชีวิต



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เพื่อสร้างรากฐานที่ดีของชีวิต " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 1-5 ตำบลแค รหัสโครงการ 66-L5177-02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,230.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แค เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

นมแม่เป็นสารอาหารที่ดีที่สุดสำหรับทารก ช่วยส่งเสริมการ เจริญเติบโตทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และจิตใจ เสริมสร้าง ภูมิต้านทานโรคให้แก่ทารก ลดอัตราการเจ็บป่วยในทารกด้วยโรค ระบบทางเดินหายใจ โรคอุจจาระร่วง โรคภูมิแพ้ โรคหอบหืด การ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ยังช่วยลดภาวะตกเลือดหลังคลอด ช่วยให้มารดา มีรูปร่างและน้ำหนักตัวคืนสู่สภาพเดิมเหมือนก่อนการตั้งครรภ์ได้เร็ว ลดโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งเต้านมและมะเร็งรังไข่ และเป็นการ เสริมสร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทำให้ทารกรู้สึกอบอุ่น อารมณ์ดีผ่อนคลาย และปลอดภัย นอกจากนี้ยังช่วยให้ประหยัด เงิน ประหยัดเวลา และที่สำคัญคือช่วยให้มารดามีความภาคภูมิใจ ในตนเองที่สามารถท าหน้าที่มารดาที่ดีได้สอดคล้องกับสโลแกนของ องค์กรพันธมิตรโลกเพื่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ที่กำหนดไว้สำหรับ การรณรงค์ในสัปดาห์นมแม่โลก ประจำปี 2561 ว่านมแม่คือ รากฐานที่สำคัญของชีวิต การจัดโครงการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพื่อสร้าง รากฐานที่ดีของชีวิตจึงมีเป้าหมายเพื่อเป็นการเพิ่มความรู้และ ทัศนคติ เรื่องความสำคัญและประโยชน์ของนมแม่ ความแตกต่าง ของนมแม่และนมผสม หลักการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การจัดท่าให้นม แม่ที่ถูกต้อง แม่ทำงานสามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้ และเพิ่มทักษะ การนวดเต้านม การบีบเก็บน้ำนม และการนำน้ำนมที่เก็บไว้ออกมา ใช้เลี้ยงลูกของหญิงตั้งครรภ์ซึ่งคาดหวังว่าโครงการนี้จะน าไปสู่ความตั้งใจของหญิงตั้งครรภ์และบุคคลในครอบครัว และสามารถประสบ ความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน และต่อเนื่องจนถึง 2 ปี ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ทำให้ทารกมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการสมวัย ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา และมารดามีสุขภาพดี เพื่อเป็น การสร้างรากฐานที่ดีของชีวิตให้กับหญิงตั้งครรภ์และทารกแรกเกิด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
  2. เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง
  3. เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
  4. เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หญิงตั้งครรภ์และบุคคลในครอบครัวมีความรู้ ทัศนคติและ ความตั้งใจที่ดีต่อการเลี้ยงลูกด้วยแม่ หญิงตั้งครรภ์มีทักษะในการ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ทำให้สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้เป็นแนวทาง ในการสร้างเสริมสุขภาพตนเองให้มีความพร้อมในการเลี้ยงลูกด้วยนม แม่ สามารถปฏิบัติการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้ถูกต้องในระยะหลัง คลอด มารดามีปริมาณน้ำนมเพียงพอให้ลูก ทารกแรกเกิดถึง 6 เดือน แรกมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสม นำไปสู่ความสำเร็จในการเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่อย่างเดียวนานอย่างน้อย 6 เดือน ส่งผลระยะยาวในการ ป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพของมารดาและทารก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

วันที่ 22 กันยายน 2566 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 ราย มีการทำแบบทดสอบก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มากขึ้น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (เพิ่มขึ้น)
70.35 95.00

 

2 เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงฝากครรภ์ ที่สามารถฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง เพิ่มขึ้น
80.25 95.00

 

3 เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงคลอด ที่ได้รับการตรวจและเยี่ยมหลังคลอดเพิ่มขึ้น
75.25 95.00

 

4 เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของแม่ ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นระยะเวลา 6 เดือน เพิ่มขึ้น
80.55 95.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (2) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง (3) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์ (4) เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เพื่อสร้างรากฐานที่ดีของชีวิต จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L5177-02-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปรีดา หัสเอียด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด