กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการการผลิตยาพอกบำบัดอาการปวดเข่า ปีงบประมาณ 2566
รหัสโครงการ 2566 - L3309 - 2 - 5
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านพังกิ่ง
วันที่อนุมัติ 11 พฤษภาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 11 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 13,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมนูญ หนูทอง ประธานชมรม อสม.รพ.สต.บ้านพังกิ่ง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่ 1 2 5 6 7 ตำบลสมหวัง อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (13,600.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 300 13,600.00 2 13,600.00
11 พ.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 วิเคราะห์ปัญหาสถานการณ์โรคข้อเข่าเสื่อมในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านพังกิ่ง 200 0.00 0.00
11 พ.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 กิจกรรมอบรมการผลิตยาพอกบำบัดอาการปวดเข่า 100 13,600.00 13,600.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่มีปัญหาด้านกล้ามเนื้อ เส้นเอ็นและข้อเข่าได้รับการบริการลดอาการปวดด้วยยาพอกเข่า โดยมีอาการลดลงมากกว่า หลังการรับบริการ 2.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายและญาติผู้ป่วยสามารถทำยาพอกเข่าเองได้และมีความพึงพอใจในการใช้งานเพิ่มขึ้น 3.อสม.ผ่านการอบรมและสามารถนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาผลิตยาพอกเข่าได้ 4.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ใช้สมุนไพรในท้องถิ่นเพิ่มขึ้น และลดการใช้ยาแผนปัจจุบันเพื่อแก้ปวดลง(ชนิดรับประทาน,ทาภายนอก)

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 พ.ค. 2566 14:51 น.