กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์หนูน้อยปลอดภัย สวมใส่หมวกกันน็อค
รหัสโครงการ L8016
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองเต็ง
วันที่อนุมัติ 9 พฤษภาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 3,545.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางบุญทิพย์ เต้งชู
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานความปลอดภัยทางถนน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มี.ค. 2566 30 ก.ย. 2566 1 มี.ค. 2566 30 ก.ย. 2566 3,545.00
รวมงบประมาณ 3,545.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๕๒ หมวด ๒ การกำหนดอำนาจและหน้าที่ในการจัระบบการบริการสาธารณะ มาตรา ที่ ๑๖ ห้เทศบาล เมืองพัทยา และ องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจหน้าที่ในการจัดระบบการบริหารสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่น ของตนเองดังนี้ (๙) การจัดการศึกษา และตามมาตรฐานสถานพัฒนาเต็กปฐมวัยแห่งชาติ ๒๕๖6 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรฐานที่ ๑ การบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ตัวบ่งขี้ที่ @.๓ การบริหาร จัดการสภาพแวดล้อมเพื่อความปลอดภัย ตัวบ่งชี้ย่อยที่ ๓.๓.๖ ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยเดินทางอย่างปลอดภัย การสวม ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองเต็ง จึงเห็นความสำคัญของการสร้างวินัยในการจราจร หมวกนิภัย เพื่อลดความเสี่ยงที่จะได้รับบาดเจ็บที่ ศีรษะและ ลดอาการรุนแรงของอาการบาดเจ็บลงได้ การส่งเสริม ให้ผู้ขับขี่ สวมหมวกนิรภัยมากขึ้น ในการเพิ่มความปลอดภัย บนท้องถนน และเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุด ในการลดการเสียชีวิตและการบาดเจ็บที่ศีรษะอันเนื่องมาจากอุบัติเหตุ หากผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ที่ไม่สวมหมวกนิรภัย มีความเสี่ยงสูงที่จะได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะหรือเสียชีวิตจากการบาดเจ็บประเภทนี้ นอกจากนี้ผู้ขับขี่ที่ไม่สวมหมวกนิรภัย ยังเพิ่มภาระให้แก่โรงพยาบาลที่รับตัวเข้ารักษา เป็นภาระแก่บุคคล ครอบครัว (หรือผู้ดูแล) และสังคมหากต้องกลาย เป็นคนพิการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองเต็งจึงได้จัดทำโครงการรณรงค์หนูน้อยปลอดภัย สวมใส่หมวกกันน็อคขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เด็กเล็กและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการขับขี่ยานพาหนะให้มี ความปลอดภัยบนท้องถนนโดยการสวมหมวกนิรภัย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ด้านวินัยจราจร มีแนวคิด ทัศนคติ และวิสัยทัศน์ที่ดีในการสวมหมวกนิรภัย

ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ด้าน วินัยจราจรเพิ่มขึ้น

2 ผู้ปกครอง/เด็กเล็กเข้าใจถึงประโยชน์ของการสวมหมวก นิรภัยในการขับขี่ยานพาหนะ

ร้อยละ 80 ผู้ปกครองใส่ใจดูแลเด็กเล็กให้ได้รับการส่งเสริมความปลอดภัยบนท้องถนน

3 ผู้ปกครองสามารถส่งต่อความรู้ด้านวินัยจราจรให้กับบุตร การส่งเสริมความปลอดภัยบนท้องถนน หลานในชุมชนได้

ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในวินัยจราจรและสามารถส่งต่อความรู้แก่บุตรหลานในชุมชนได้

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจถึงประโยชน์ของการสวมหมวกนิรภัยในการขับขี่ยานพาหนะให้มีความปลอดภัยบนท้องถนน
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีแนวคิด ทัศนคติ และวิสัยทัศน์ที่ดีในการสวมหมวกนิรภัย
  3. ผู้เข้าร่วมโครงการ/เด็กเล็กมีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและเพิ่ความปลอดภัย ลดการเกิดอุบัติเหตุ
  4. ผู้เข้าร่วมโครงการ/ผู้ปกครองสามารถส่งต่อความรู้ด้านวินัยจราจรให้กับบุตรหลานในชุมชนได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 พ.ค. 2566 12:03 น.