กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการกลองยาวเพื่อสุขภาพ สืบสานวัฒนธรรมไทย ตำบลปากคม ปีงบประมาณ 2566
รหัสโครงการ 66-L1535-2-10
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมผู้สูงอายุตำบลปากคม
วันที่อนุมัติ 22 มิถุนายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 30 มิถุนายน 2566 - 20 กรกฎาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 1 สิงหาคม 2566
งบประมาณ 17,870.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสมคิด ศรีโภคา
พี่เลี้ยงโครงการ นายพรเชิด หนูเหมือน
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.732,99.607place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 25 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน(คน)
13.00
2 จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว(คน)
13.00
3 จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองแล้วมีภาวะซึมเศร้าและกังวล(คน)
2.00
4 จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง เช่น ตาต้อ กระจก เป็นต้น (คน)
2.00
5 จำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน (คน)
2.00
6 จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (คน)
2.00
7 จำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เช่น หกล้มง่าย เป็นต้น
5.00
8 ร้อยละสถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ
60.00
9 ร้อยละแผนการดูแลรายบุคคล(CP) ที่ได้รับการอนมัติและดูแล
2.00
10 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีกลุ่มหรือสังกัดชมรม
90.00
11 ร้อยละของผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
40.00
12 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
40.00
13 ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์)
80.00
14 ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ปลอดภัย เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ
70.00
15 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม
1.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สุขภาพดีเป็นสิ่งที่ทุกคนพึงปรารถนา การมีสุขภาพที่ดีประชาชนทุกคนจะต้องมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสม คือ เรื่องการบริโภคอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนา การออกกำลังกายที่เหมาะสม การดูแลอารมณ์-สุขภาพจิตของตนเองให้ดี รวมทั้งเมื่อเจ็บป่วยต้องมีหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
แต่เนื่องจากการออกกำลังกายโดยทั่วไปมักจะน่าเบื่อ ไม่มีจุดดึงดูดความสนใจให้ออกกำลังกาย การตีกลอง ยาวและรำกลองยาวเป็นการออกกำลังกายอีกวิธีหนึ่งที่สร้างความสนใจให้ประชาชน เนื่องจากมีความสนุกสนานเพลิดเพลินไม่หักโหมจนเกินไปสำหรับผู้สูงอายุ อีกทั้งสามารถออกกำลังกายเป็นกลุ่ม ทำให้มีเพื่อนในการออกกำลังกาย จึงรู้สึกไม่น่าเบื่อ และสามารถออกกำลังกายได้ทุกกลุ่มวัย ได้ทั้งเรื่องความแข็งแรงของร่างกาย ได้เรื่องอารมณ์จิตใจ และด้านสังคม และสืบสานวัฒนธรรมอันดีงามของไทย ด้วยเหตุผลดังกล่าวชมรมผู้สูงอายุตำบลปากคม จึงได้จัดทำโครงการรำกลองยาวเพื่อสุขภาพสืบสานวัฒนธรรมไทย ประจำปีงบประมาณ 2566 ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน

ผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน มีจำนวนลดลง

13.00 13.00
2 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว

ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว ลดลง

13.00 13.00
3 เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล

จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น

2.00 0.00
4 เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง

จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ลดลง

2.00 0.00
5 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน

จำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน มีจำนวนเพิ่มขึ้น

2.00 4.00
6 เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล

จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น

2.00 0.00
7 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ

ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง

5.00 0.00
8 เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

จำนวน สถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ เพิ่มขึ้น

60.00 80.00
9 เพื่อเพิ่มการอนุมัติและนำแผนการดูแลรายบุคคล(CP)ไปปฏิบัติ

แผนการดูแลรายบุคคล(CP) ที่ได้รับการอนมัติและดูแล เพิ่มขึ้น

2.00 0.00
10 เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ

ผู้สูงอายุมีกลุ่มหรือสังกัดชมรม เพิ่มขึ้น

90.00 95.00
11 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลงลด

40.00 60.00
12 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

40.00 60.00
13 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ

ผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) เพิ่มขึ้้น

80.00 85.00
14 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ

ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

70.00 80.00
15 เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม

ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม  ลดลง

1.00 0.00
16 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุออกกำลังกายเพื่อสุขภาพเป็นประจำ สม่ำเสมอและต่อเนื่อง ส่งผลให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและจิตใจที่ดีลดภาวการณ์เจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ 2. เพื่อป้องกันภาวะซึมเศร้า ลดความเครียด และลดความแปรปรวนของอารมณ์ในผู้สูงอายุ 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 4. เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมที่ดีงามของไทย
  1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุออกกำลังกายเพื่อสุขภาพเป็นประจำ สม่ำเสมอและต่อเนื่อง ส่งผลให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและจิตใจที่ดีลดภาวการณ์เจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ
  2. เพื่อป้องกันภาวะซึมเศร้า ลดความเครียด และลดความแปรปรวนของอารมณ์ในผู้สูงอายุ
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
  4. เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมที่ดีงามของไทย
1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณมิ.ย. 66
1 จัดประชุมคณะทำงานของชมรมผู้สูงอายุตำบลปากคม(22 มิ.ย. 2566-22 มิ.ย. 2566) 0.00  
2 เขียนโครงการ/เสนอโครงการ/ขออนุมัติโครงการ(30 มิ.ย. 2566-20 ก.ค. 2566) 0.00  
3 ประชาสัมพันธ์โครงการและติดต่อประสานงานผู้เข้าร่วมโครงการที่เกี่ยวข้อง และกลุ่มเป้าหมาย(30 มิ.ย. 2566-20 ก.ค. 2566) 0.00  
4 ดำเนินงานตามโครงการ(30 มิ.ย. 2566-20 ก.ค. 2566) 17,870.00  
5 รายงานผลการดำเนินงานให้คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปากคมทราบ(20 ก.ค. 2566-20 ก.ค. 2566) 0.00  
รวม 17,870.00
1 จัดประชุมคณะทำงานของชมรมผู้สูงอายุตำบลปากคม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
2 เขียนโครงการ/เสนอโครงการ/ขออนุมัติโครงการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
3 ประชาสัมพันธ์โครงการและติดต่อประสานงานผู้เข้าร่วมโครงการที่เกี่ยวข้อง และกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
4 ดำเนินงานตามโครงการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 25 17,870.00 0 0.00
30 มิ.ย. 66 - 20 ก.ค. 66 ค่าป้ายโครงการ ขนาด 0.9 *2.0 เมตร จำนวน 1 ป้าย 0 270.00 -
30 มิ.ย. 66 - 20 ก.ค. 66 ค่าตอบแทนวิทยากร ชั่วโมงละ 200 บาทวันละ 2 ชั่วโมง 1 คนจำนวน 20 วัน 0 8,000.00 -
30 มิ.ย. 66 - 20 ก.ค. 66 ค่าจัดซื้อวัสดุฝึกอบรม (กลองยาวขนาด 12 นิ้ว) จำนวน 6 ใบๆละ 1,600 บาท 25 9,600.00 -
5 รายงานผลการดำเนินงานให้คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปากคมทราบ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1) ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกาย มีสุขภาพกาย สุขภาพใจที่ดีขึ้น
  ส่งผลให้มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดีขึ้น อยู่ร่วมกับครอบครัว ชุมชน และสังคม อย่างมีความสุข 2) ผู้สูงอายุมีความมั่นใจในตนเอง กล้าแสดงออก รู้สึกมีคุณค่าต่อตนเองและสังคม 3) ภาวะชึมเศร้าในผู้สูงอายุลดลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 มิ.ย. 2566 13:19 น.