กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกเชิงรุก เทศบาลตำบลป่าบอน ปีงบประมาณ 2566
รหัสโครงการ 66-L7578-02-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข เทศบาลตำบลป่าบอน
วันที่อนุมัติ 26 พฤษภาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 5 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 31,902.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสุคนธ์ คงช่วย และผู้มีรายชื่อแนบท้ายบันทึกข้อตกลงนี้
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.337,100.171place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 5 ก.ค. 2566 5 ก.ค. 2566 31,902.00
รวมงบประมาณ 31,902.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่มียุงลายเป็นพาหะของโรค นับวันจะมีความรุนแรงและมีอัตราป่วยมากขึ้นเรื่อย ๆ ในพื้นที่เทศบาลตำบลบำบอน ซึ่งถือว่าเป็นโรคระบาคที่อันตราย ในอดีตโรคไช้เลือดออกมักจะเป็นเฉพาะในกลุ่มเด็กเท่านั้น แต่ในปัจจุบันพบได้ทุกกลุ่มอายุและเป็นปัญหาสำคัญทางการแพทย์และการสาธารณสุขระดับประเทศเนื่องจากความรุนแรงของโรคแปรผันตรงต่ออัตราตาย การป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกส่งผลต่อสุขภาพของผู้ป่วย ชุมชน สังคมและประเทศชาติ ตามลำดับ ซึ่งโรคไช้เลือดออก มียุงลายเป็นพาหะนำโรคที่สำคัญและมักจะระบาคในช่วงเดือน พฤษภาค - ตุลาคม แต่ในปัจจุบันระบาดได้ในทุกเดือน ของทุกปี ในพื้นที่เทศบาลตำบลป่บอน พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก เป็นจำนวนมาก หากไม่ดำเนินการควบคุมและป้องกันที่มีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง จะทำให้อัตราการแพร่ระบาดของโรคจะกระจายไปเป็นจำนวนมากยากแก่การควบคุม ซึ่งการคำเนินการดังกล่าวจะมีประสิทธิภาพต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ในการรณรงค์ป้องกันโรคไช้เลือดออก โดยการควบคุมทางกายภาพ เช่น การทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และการควบคุมทางเคมี เช่น การใส่ทรายกำจัดลูกน้ำยุงลาย การพ่นหมอกควันเพื่อควบคุมการแพร่กระจาย เป็นต้น
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข เทศบาลตำบลป๋าบอน (อสม.) อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง เล็งเห็นถึงความสำคัญและอันตรายจากโรคไข้เลือดออก จึงจัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกเชิงรุก เทศบาลตำบลป่าบอน ปีงบประมาณ ๒๕๖๖ ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก

 

2 เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดไข้เลือดออก

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อให้ประชาชนตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดไข้เลือดออก

รวม 0 0.00 0 0.00

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

๑. เขียนโครงการเพื่อเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลป่าบอน เพื่อขออนุมัติเงินสนับสนุนโครงการ ๒. ประสานงานกับหน่วยงานทีเกี่ยวข้อง เช่น สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ รพ.สต. อสม. ผู้นำชุมชน ๓. ดำเนินกิจกรรม ก่อนเกิดโรค - สำรวจลูกน้ายุงลาย - จัดกิจกรรมเดินรณรงค์ เพื่อสร้างความตระหนักแก่ประชาชนในการป้องกัน และประชาสัมพันธ์เรื่องโรคไข้เลือดออก

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ๒. ประชาชนมีความรู้และมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ๓. สามารถควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๔. มีวัสดุอุปกรณ์ ในการป้องกันและควบคุมโรคไข่เลือดออก ระยะเกิดโรค - ประสานงานไปยังกองสาธารณสุข เพื่อพ่นหมอกควันควบคุมการระบาด กรณีมีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในบริเวณบ้านผู้ป่วยและละแวกบ้านรัศมี ๑๐๐ เมตร ตามหลักควบคุมโรค - ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ระยะหลังเกิดโรค - ติดตามเฝ้าระวังผู้ป่วยรายใหม่ - รายงานสถานการณ์โรคให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขทราบ ๔. สรุปผลและรายงานผลโครงการให้กองทุนหลักประกันสุขภาพทราบ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 ก.ค. 2566 10:18 น.