กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ “น้ำผุดรุ่นใหม่ ร่วมใจลดน้ำตาล”
รหัสโครงการ 66-L1498-1-001
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำผุดอำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
วันที่อนุมัติ 1 มิถุนายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2566 - 31 สิงหาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 28,432.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำผุดอำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2065 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 หลักการและเหตุผลสังคมไทยยุคปัจจุบันกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุและพบว่าผู้สูงอายุเหล่านั้นมักมีโรคประจำตัวร่วมด้วย ซึ่งโรคประจำตัวที่พบได้บ่อย คือ โรคเบาหวาน ดังจากข้อมูลสถิติสาธารณสุข สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 18 พฤศจิกายน 256
60.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 28,432.00 0 0.00
1 มิ.ย. 66 - 31 ส.ค. 66 กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวาน 0 12,600.00 -
1 มิ.ย. 66 - 31 ส.ค. 66 1.2 กิจกรรมการตรวจเท้า ด้วยอุปกรณ์ monofilament 0 1,000.00 -
1 มิ.ย. 66 - 31 ส.ค. 66 2. การอบรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน แก่ผู้ป่วยเบาหวาน 0 14,832.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับตัวโรค ทั้งสาเหตุที่ทำให้น้ำตาลในเลือดสูง การดูแลสุขภาพที่เหมาะสม ทั้งการรับประทานอาหารที่ดี การออกกำลังกายที่เหมาะสม และการใช้ยาที่ถูกวิธี และภาวะแทรกซ้อนที่เกิดได้จากน้ำตาลสะสมในเลือดสูงกว่าเกณฑ์ 2. ผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะกับวิถีชีวิตของตนเองให้มีสุขภาพที่ดีขึ้นได้ 3. ผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการสามารถควบคุมน้ำตาลสะสมให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมได้อย่างต่อเนื่อง ทำให้ลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 4. ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้ ไปถ่ายทอด/แลกเปลี่ยนกับคนในครอบครัวและชุมชน ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม เพื่อให้คุณภาพชีวิตของคนในชุมชนดียิ่งขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 ก.ค. 2566 14:05 น.