กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชะลอไตเสื่่อมในผู้ป่วยไตวายตำบลโคกม่วงปีงบประมาณ 2566
รหัสโครงการ 66-L3312-6-2
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 6 การใช้เงินตามมติบอร์ด
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์ฟื้นฟูและดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง และผู้พิการเทศบาลตำบลโคกม่วง
วันที่อนุมัติ 27 กรกฎาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 27 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 17,390.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางรัชฏ์สุรางค์ บุญเพ็ง , นางสาวอุบลรัตน์ เมืองสง
พี่เลี้ยงโครงการ นางวาลัยพร ด้วงคง
พื้นที่ดำเนินการ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 15 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละประชากรที่มีความเสี่ยงเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
60.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease, CKD) เป็นปัญหาสาธารณสุขระดับโลกรวมถึงประเทศไทย ภาวะไตเรื้อรังมักมีการดำเนินโรคไปสู่โรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (End-Stage Renal Disease,ESRD) ที่จำเป็นต้องได้รับการบำบัดทดแทนไตหรือการปลูกถ่ายไต และยังเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญในการเกิดโ ร ค หั ว ใ จและหลอดเลือด โดยเราจะแบ่งโรคไตเรื้อรังออกเป็น 5 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 ไตผิดปกติและ GFR ปกติหรือเพิ่ม >90ระยะ 2 ไตผิดปกติและ GFR ลดลงเล็กน้อย 60-90ระยะที่ 3a GFR ลดลงเล็กน้อย-ปานกลาง 45-59ระยะ 3b GFR ลดลงปานกลาง-มาก 30-44ระยะที่ 4 GFR ลดลงมาก 15-29 ระยะที่ 5 ไตวายระยะสุดท้าย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันกลุ่มประชาชนที่มีความเสี่ยง และผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ดำเนินโรคไปสู่โรคไตเรื้อรัง

ประชาชนที่มีความเสี่ยง และผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีความรู้และปฏิบัติตัวได้ถูกต้องร้อยละ 80

80.00
2 2. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง

จำนวนผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังลดลงจากเดิมร้อยละ 60

60.00
3 3. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย

จำนวนผู้ป่วยโรคไตวายระยะสุดท้ายลดลงจากเดิมร้อยละ 70

0.00 70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 17,390.00 0 0.00
10 - 18 ก.ค. 66 ประชุมทีมงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง) จนท.หน่วยบริการ ผู้นำชุมชน อสม. ฯลฯ เพื่อชี้แจงกระบวนการ และการดำเนินงานตามโครงการ 0 0.00 -
28 ก.ค. 66 - 4 ส.ค. 66 ดำเนินการค้นหา/คัดกรอง หรือเชื่อมโยงฐานข้อมูลกับหน่วยบริการในพื้นที่ จัดทำทะเบียน 0 0.00 -
5 ส.ค. 66 - 5 ก.ย. 66 ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมาย 0 13,500.00 -
9 ส.ค. 66 จัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตสำหรับอสม. 0 3,890.00 -
6 - 13 ก.ย. 66 ประสานคลินิคชะลอไตเสื่อม (CKD clinic) หรือ เครือข่ายบริการโรคไตเรื้อรัง เพื่อเชื่อมโยงการให้บริการระหว่างหน่วยบริการกับชุมชน 0 0.00 -
14 ก.ย. 66 - 6 พ.ย. 66 ติดตามประเมินผลและจัดทำฐานข้อมูลหลังดำเนินโครงการเสร็จสิ้นแล้ว เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลให้กับ เครือข่ายหน่วยบริการในพื้นที่ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาระบบการดูแลในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ 0 0.00 -
7 - 15 พ.ย. 66 จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ พร้อมจัดส่งรายงานผลการดำเนินงานให้กองทุนฯ 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนที่มีความเสี่ยงและผู้ปวยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้รับการดูแลในการเฝ้าระวัง ป้องกันไม่ดำเนินโรคไปสู่ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
  2. จำนวนผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังลดลง
  3. จำนวนผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายลดลง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ