กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานเทศบาลเมืองเบตงระยะที่ 2 (ปฏิบัติงานบนสำนักงาน)

assignment
บันทึกกิจกรรม
อบรมเชิงปฎิบัติการเรื่องอาชีวอนามัย ความปลอดภัยในการทำงาน แบ่ง 8 กลุ่ม2 กันยายน 2566
2
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองเบตง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วิธีการดำเนินการ 1 ขั้นเตรียมการ   1.1 ชี้แจง ทำความเข้าใจผุ้กำกับดูแลของกอง/ฝ่าย ให้ทราบถึงวัตถุประสงค์ของโครงการ   1.2 ติดต่อและประสานงานกับผู้ที่เกียวข้องเพื่อขอใช้สถานที่และประสานงานวิทยากร 2 ขั้นดำเนิการ     2.1 การคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น (แบบทดสอบกลุ่มเสี่ยงผู้ที่มีภาวะออฟฟิศซินโดรม     2.2 กิจกรรมอบรม ดดยแบ่งเป็น           (1) อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องอาชีวอนามัย ความปลอดภัยในการทำงาน โดยแบ่งเป็น 8 กลุ่ม ตามฐานกิจกรรมดังนี้             หัวข้อ "สาเหตุของการเกิดโรคออฟฟิศ ซินโดรม(Office Syndrome)คืออะไร"             หัวข้อ "อาการและโรคที่เกิดจากออฟฟิศ ซินโดรม(Office Syndrome)"               หัวข้อ "ผลกระทบกลุ่มอาการออฟฟิศ ซินโดรม(Office Syndrome)"                 หัวข้อ "การจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมตามหลักการยศาาสตร์(Ergonomic)"                   หัวข้อ "โรคใหม่ๆ ของคนวัยทำงาน 2023"                   หัวข้อ "การตรวจสุขภาพของคนวัยทำงาน"                   (2) อบรมเชิงปฏิบัติการค้นหาความเสี่ยง และการจัดแผนขจัดความเครียดในสำนักงาน นำเสนอผลการค้นหาความเสี่ยงและแสดงความคิดเห็น                   (3) อบรมเชิงปฏิบัติการโภชนาการและอาหารเพื่อสุขภาพแก่ผู้ปฏิบัติงานแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติจัดทำอาหารสุขภาพ พร้อมนำเสนอผลการจัดทำเมนูสุขภาพ                   (4) อบรมเชิงปฏิบัติการขจัดความเสี่ยงต่อสุขภาพ นำเสนอแผนขจัดความเครียดในสำนักงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้                   (5) กิจกรรมสันทนาการ                         - เทคนิคการออกกำลังกายเพื่อป้องกันออฟฟิศซินโดรม                         - กิจกรรมชวนขยับ ป้องกัน ออฟฟิศ ซินโดรม (สันทนาการ) 3. ขั้นประเมินผล   3.1 จากการทำแบบทดสอบก่อน-หลังการอบรม   3.2 จากการถาม-ตอบ ระหว่างการอบรม   3.3 จากแบบสรุปแผนผังความคิดจากการหาความเสี่ยงและขจัดความเสี่ยงจากการทำงาน   3.4 จากการสังเกตการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-โดยจัดกิจกรรมอบรม มีผู้เข้าการอบรม จำนวน 200 คน ผู้เข้าร่วมมีความพึงพอใจภาพรวม ร้อยละ 91.34
-พนักงานมีความรู้เรื่องอาชีวอนามัย ความปลอดภัยในการทำงาน สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการปกิบัติหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง -พนักงาน สามารถค้นหาความเสี่ยง และ สามารถขจัดความเสี่ยงต่อสุขภาพได้อย่างถูกต้องและสามารถนำความรู้และทักษะที่ได้รับไปจัดการความเสี่ยงจากการทำงานที่ส่งต่อผลสุขภาพได้

อบรมเชิงปฏิบัติการ (แบ่งกลุ่ม 8 กลุ่ม)2 กันยายน 2566
2
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองเบตง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วิธีการดำเนินการ 1 ขั้นเตรียมการ   1.1 ชี้แจง ทำความเข้าใจผุ้กำกับดูแลของกอง/ฝ่าย ให้ทราบถึงวัตถุประสงค์ของโครงการ   1.2 ติดต่อและประสานงานกับผู้ที่เกียวข้องเพื่อขอใช้สถานที่และประสานงานวิทยากร 2 ขั้นดำเนิการ     2.1 การคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น (แบบทดสอบกลุ่มเสี่ยงผู้ที่มีภาวะออฟฟิศซินโดรม     2.2 กิจกรรมอบรม ดดยแบ่งเป็น           (1) อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องอาชีวอนามัย ความปลอดภัยในการทำงาน โดยแบ่งเป็น 8 กลุ่ม ตามฐานกิจกรรมดังนี้             หัวข้อ "สาเหตุของการเกิดโรคออฟฟิศ ซินโดรม(Office Syndrome)คืออะไร"             หัวข้อ "อาการและโรคที่เกิดจากออฟฟิศ ซินโดรม(Office Syndrome)"               หัวข้อ "ผลกระทบกลุ่มอาการออฟฟิศ ซินโดรม(Office Syndrome)"                 หัวข้อ "การจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมตามหลักการยศาาสตร์(Ergonomic)"                   หัวข้อ "โรคใหม่ๆ ของคนวัยทำงาน 2023"                   หัวข้อ "การตรวจสุขภาพของคนวัยทำงาน"                   (2) อบรมเชิงปฏิบัติการค้นหาความเสี่ยง และการจัดแผนขจัดความเครียดในสำนักงาน นำเสนอผลการค้นหาความเสี่ยงและแสดงความคิดเห็น                   (3) อบรมเชิงปฏิบัติการโภชนาการและอาหารเพื่อสุขภาพแก่ผู้ปฏิบัติงานแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติจัดทำอาหารสุขภาพ พร้อมนำเสนอผลการจัดทำเมนูสุขภาพ                   (4) อบรมเชิงปฏิบัติการขจัดความเสี่ยงต่อสุขภาพ นำเสนอแผนขจัดความเครียดในสำนักงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้                   (5) กิจกรรมสันทนาการ                         - เทคนิคการออกกำลังกายเพื่อป้องกันออฟฟิศซินโดรม                         - กิจกรรมชวนขยับ ป้องกัน ออฟฟิศ ซินโดรม (สันทนาการ) 3. ขั้นประเมินผล   3.1 จากการทำแบบทดสอบก่อน-หลังการอบรม   3.2 จากการถาม-ตอบ ระหว่างการอบรม   3.3 จากแบบสรุปแผนผังความคิดจากการหาความเสี่ยงและขจัดความเสี่ยงจากการทำงาน   3.4 จากการสังเกตการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-โดยจัดกิจกรรมอบรม มีผู้เข้าการอบรม จำนวน 200 คน ผู้เข้าร่วมมีความพึงพอใจภาพรวม ร้อยละ 91.34
-พนักงานมีความรู้เรื่องอาชีวอนามัย ความปลอดภัยในการทำงาน สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการปกิบัติหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง -พนักงาน สามารถค้นหาความเสี่ยง และ สามารถขจัดความเสี่ยงต่อสุขภาพได้อย่างถูกต้องและสามารถนำความรู้และทักษะที่ได้รับไปจัดการความเสี่ยงจากการทำงานที่ส่งต่อผลสุขภาพได้

กิจกรรมสันทนาการ2 กันยายน 2566
2
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองเบตง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วิธีการดำเนินการ 1 ขั้นเตรียมการ   1.1 ชี้แจง ทำความเข้าใจผุ้กำกับดูแลของกอง/ฝ่าย ให้ทราบถึงวัตถุประสงค์ของโครงการ   1.2 ติดต่อและประสานงานกับผู้ที่เกียวข้องเพื่อขอใช้สถานที่และประสานงานวิทยากร 2 ขั้นดำเนิการ     2.1 การคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น (แบบทดสอบกลุ่มเสี่ยงผู้ที่มีภาวะออฟฟิศซินโดรม     2.2 กิจกรรมอบรม ดดยแบ่งเป็น           (1) อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องอาชีวอนามัย ความปลอดภัยในการทำงาน โดยแบ่งเป็น 8 กลุ่ม ตามฐานกิจกรรมดังนี้             หัวข้อ "สาเหตุของการเกิดโรคออฟฟิศ ซินโดรม(Office Syndrome)คืออะไร"             หัวข้อ "อาการและโรคที่เกิดจากออฟฟิศ ซินโดรม(Office Syndrome)"               หัวข้อ "ผลกระทบกลุ่มอาการออฟฟิศ ซินโดรม(Office Syndrome)"                 หัวข้อ "การจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมตามหลักการยศาาสตร์(Ergonomic)"                   หัวข้อ "โรคใหม่ๆ ของคนวัยทำงาน 2023"                   หัวข้อ "การตรวจสุขภาพของคนวัยทำงาน"                   (2) อบรมเชิงปฏิบัติการค้นหาความเสี่ยง และการจัดแผนขจัดความเครียดในสำนักงาน นำเสนอผลการค้นหาความเสี่ยงและแสดงความคิดเห็น                   (3) อบรมเชิงปฏิบัติการโภชนาการและอาหารเพื่อสุขภาพแก่ผู้ปฏิบัติงานแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติจัดทำอาหารสุขภาพ พร้อมนำเสนอผลการจัดทำเมนูสุขภาพ                   (4) อบรมเชิงปฏิบัติการขจัดความเสี่ยงต่อสุขภาพ นำเสนอแผนขจัดความเครียดในสำนักงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้                   (5) กิจกรรมสันทนาการ                         - เทคนิคการออกกำลังกายเพื่อป้องกันออฟฟิศซินโดรม                         - กิจกรรมชวนขยับ ป้องกัน ออฟฟิศ ซินโดรม (สันทนาการ) 3. ขั้นประเมินผล   3.1 จากการทำแบบทดสอบก่อน-หลังการอบรม   3.2 จากการถาม-ตอบ ระหว่างการอบรม   3.3 จากแบบสรุปแผนผังความคิดจากการหาความเสี่ยงและขจัดความเสี่ยงจากการทำงาน   3.4 จากการสังเกตการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-โดยจัดกิจกรรมอบรม มีผู้เข้าการอบรม จำนวน 200 คน ผู้เข้าร่วมมีความพึงพอใจภาพรวม ร้อยละ 91.34
-พนักงานมีความรู้เรื่องอาชีวอนามัย ความปลอดภัยในการทำงาน สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการปกิบัติหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง -พนักงาน สามารถค้นหาความเสี่ยง และ สามารถขจัดความเสี่ยงต่อสุขภาพได้อย่างถูกต้องและสามารถนำความรู้และทักษะที่ได้รับไปจัดการความเสี่ยงจากการทำงานที่ส่งต่อผลสุขภาพได้