กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง


“ วัยรุ่นยุคใหม่ รักปลอดภัย ใส่ใจอนาคต ”

ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวปรารถนา ธัมมากาศ

ชื่อโครงการ วัยรุ่นยุคใหม่ รักปลอดภัย ใส่ใจอนาคต

ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2566-L7161-02-21 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2566 ถึง 29 ธันวาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"วัยรุ่นยุคใหม่ รักปลอดภัย ใส่ใจอนาคต จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
วัยรุ่นยุคใหม่ รักปลอดภัย ใส่ใจอนาคต



บทคัดย่อ

โครงการ " วัยรุ่นยุคใหม่ รักปลอดภัย ใส่ใจอนาคต " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2566-L7161-02-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2566 - 29 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 67,715.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เพศศึกษามีความสำคัญต่อคนในสังคม โดยเฉพาะในช่วงวัยเรียนหรือวัยรุ่น เพราะเป็นเครื่องมือที่จะสามารถแนะแนวและแนะนำให้ผู้เรียนเข้าใจเรื่องเพศได้อย่างถูกต้อง มีความรู้มากพอที่จะใช้ในการตัดสินใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางเพศและเพศวิถีได้อย่างเหมาะสม รวมถึงเพื่อปกป้องผู้เรียนจากปัญหาที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศต่างๆ หรือช่วยให้สามารถรับมือกับปัญหาที่อาจเกิดขึ้น อาทิ ปัญหาจากการมีเพศสัมพันธ์ ซึ่งอาจเกิดจากความประมาท หรือการขาดข้อมูลที่ควรทราบ เช่น วิธีคุมกำเนิดเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ วิธีป้องกันตนเองจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ความไม่เสมอภาคทางเพศ หรือการถูกเลือกปฏิบัติอย่างไม่เท่าเทียมกับคนอีกกลุ่มโดยอ้างอิงจากความแตกต่างทางรสนิยมทางเพศหรือเพศสภาพ ความรุนแรงบนฐานทางเพศสภาพ หรือการใช้ความรุนแรงกับผู้ที่มีเพศสภาพหรือรสนิยมทางเพศแตกต่างจากตัวเองหรือพวกของตัวเอง วัยรุ่นจะมีความแตกต่างจากเด็กโตหลายประการ พัฒนาของวัยรุ่นจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว และหลายด้านพร้อมๆกัน ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม วัยรุ่นต้องปรับตัวอย่างมาก เพื่อให้เขาสามารถดำเนินชีวิตต่อไปอย่างเป็นสุข และพัฒนาตนเองเป็นผู้มีบุคลิกภาพที่ดี มีวิชาชีพเหมาะสมกับตนพร้อมที่จะดำเนินชีวิตครอบครัวต่อไปได้อย่างปลอดภัย การจัดการเรียนรู้ในวัยรุ่น มีความแตกต่างบางประการ ซึ่งต้องการความเข้าใจในจิตวิทยาของวัยรุ่น ลักษณะพฤติกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสมจะแตกต่างจากวัยเด็กอย่างชัดเจน ถ้าวัยรุ่นเรียนรู้ไปอย่างไรแล้ว มักจะเกิดพฤติกรรมติดตัว กลายเป็นนิสัย และบุคลิกภาพซึ่งจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ยากในภายหลัง วัยนี้จึงควรมีการเรียนรู้อย่างถูกต้องก่อนที่วัยรุ่นจะไปเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างผิด ๆ และกลายเป็นพฤติกรรมทีเป็นปัญหาต่อไป เช่น ปัญหาการติดยาเสพติด ปัญหาทางเพศ และปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ยังเป็นปัญหาสำคัญระดับชาติ ที่หน่วยงานและทุกภาคส่วนต้องระดมความร่วมมือเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง จากข้อมูลสำนักระบาดวิทยา พบว่า เด็กและเยาวชนมีแนวโน้มอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะ โรคหนองใน ทำให้มีโอกาสติดเชื้อเอชไอวี มากขึ้นกว่าคนปกติ 3 - 9 เท่า ซึ่งเป็นผลมาจากการมีพฤติกรรมทางเพศที่ไม่ปลอดภัยโดยพบว่าอัตราการใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ในรอบปีที่ผ่านมา ยังต่ำอยู่ เพียงร้อยละ 46.9 เท่านั้น ผลกระทบประการสำคัญที่เกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น นอกจากติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ คือ การตั้งครรภ์ ซึ่งจากสถิติ ในปี 2554 พบว่าวัยรุ่นหญิงของไทยอายุ 10-19 ปี คลอดบุตรจำนวน 131,400 คน ส่วนหนึ่งเกิดมาจากมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการร่วมเพศคิดว่าการร่วมเพศครั้งเดียวแล้วจะไม่ตั้งครรภ์ การใช้ถุงยางอนามัยจะขัดขวางความรู้สึกทางเพศ โดยร้อยละ 80 เป็นการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม ทำให้วัยรุ่นตัดสินใจยุติการตั้งครรภ์หรือทำแท้ง ซึ่งเป็นวิธีการที่ไม่ปลอดภัย เสี่ยงอันตรายและอาจเสียชีวิตได้ และยังพบว่า มีวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ติดเชื้อเอชไอวีเพิ่มขึ้นอีกด้วย พร้อมทั้งปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในสังคมไทย การตั้งครรภ์ของวัยรุ่นและเยาวชนเป็นประเด็นปัญหาที่ทั่วโลกให้ความสำคัญ องค์การสหประชาชาติได้กำหนดให้การลดอัตราคลอดในวัยรุ่นอายุ 15 – 19 ปี เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดของเป้าหมายการพัฒนา แห่งสหัสวรรษ (MDGs) และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ที่นานาชาติต้องการให้บรรลุได้ภายในปี พ.ศ. 2573 โดยได้กำหนดให้การลดอัตราคลอดในวัยรุ่นอายุ 10 – 14 ปี และอายุ 15 – 19 ปี เป็นส่วนหนึ่งของตัวชี้วัดในการบรรลุเป้าหมายที่ 3 ว่าด้วยการสร้างหลักประกันให้คนมีชีวิตที่มีคุณภาพและส่งเสริมสุขภาวะ ที่ดีของคนทุกเพศทุกวัย สำหรับประเทศไทย อัตราการคลอดในวัยรุ่นของประเทศมีแนวโน้มลดลงทุกปี ข้อมูลล่าสุดในปี 2564 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10 - 14 ปี ไตรมาสที่ 3 พ.ศ. 2564 เท่ากับ 1.05 ต่อพัน (HDC 16 ส.ค. 64) และอัตราการคลอด มีชีพในหญิงอายุ 15 - 19 ปี ไตรมาสที่ 3 พ.ศ. 2564 เท่ากับ 26.20 ต่อพัน (HDC 16 ส.ค. 64) แต่อย่างไรก็ตามยังมีการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุต่ำกว่า 20 ปี อยู่ในระดับสูง โดยร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี เท่ากับ 13.91 (HDC ณ 16 ส.ค. 64) เนื่องจากปัญหาดังกล่าวจะส่งผลกระทบในหลายมิติทั้งผลกระทบทางสุขภาพ เช่น ความเสี่ยงต่อสุขภาพเด็ก แรกเกิด การทำแท้ง และการทอดทิ้งทารก ผลกระทบต่อสภาพจิตใจ ผลกระทบต่อการศึกษา ครอบครัวและอาชีพและผลกระทบด้านเศรษฐกิจของประเทศโดยรวมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ตามที่เทศบาลเมืองเบตง ได้ดำเนินการจัดตั้งศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลเมืองเบตง เพื่อเป็นศูนย์รวมในการพัฒนาสถาบันครอบครัว ที่มีการบริหารจัดการโดยชุมชน เป็นการสร้างโอกาสให้ชุมชนได้เรียนรู้ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาสถาบันครอบครัวที่จะนำไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชน ในการบริหารงาน และแก้ไขปัญหาสังคมอย่างยั่งยืนต่อไป เพื่อให้การดำเนินงานตามบทบาทและภารกิจของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน ดำเนินไปด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลเมืองเบตง จึงได้จัดทำโครงการวัยรุ่นยุคใหม่ รักปลอดภัย ใส่ใจอนาคตขึ้น เพื่อส่งเสริมให้วัยรุ่นและเยาวชนมีความรอบรู้เรื่องเพศศึกษาและทักษะชีวิต การเข้าถึงบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นที่สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของวัยรุ่นการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่เป็นปัญหาสำคัญในเขตเทศบาลเมืองเบตง และไม่เคยมีกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเพศวิถีศึกษา ทักษะชีวิต อนามัยการเจริญพันธุ์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ อีกทั้งกิจกรรมจัดนิทรรศการเพศวิถีศึกษา ทักษะชีวิต อนามัยการเจริญพันธุ์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์มาก่อน และเพื่อลดการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น และเพื่อเสริมสร้างจิตสำนึกการรู้จักป้องกัน หรือลดพฤติกรรมเสี่ยงด้านอนามัยเจริญพันธุ์ เอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ อันจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีของเด็กและเยาวชนต่อไปในอนาคต ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลเมืองเบตงจึงได้ดำเนินโครงการในครั้งนี้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมให้วัยรุ่นมีความรอบรู้เรื่องเพศศึกษาและทักษะชีวิต การเข้าถึงบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นที่สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของวัยรุ่น
  2. 2. เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและลดการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น
  3. 3. เพื่อเสริมสร้างจิตสำนึกการรู้จักป้องกัน หรือลดพฤติกรรมเสี่ยงด้านอนามัยเจริญพันธุ์ เอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดเตรียมโครงการ และเตรียมอุปกรณ์
  2. อบรมให้ความรู้และอบเชิงปฏิบัติการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 381
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. วัยรุ่นมีความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษา และสามารถเข้าถึงบริการอนามัยเจริญพันธุ์
  2. ลดปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น
  3. วัยรุ่นมีจิตสำนึกในการป้องกัน ลดพฤติกรรมเสี่ยงด้านอนามัยเจริญพันธุ์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมให้วัยรุ่นมีความรอบรู้เรื่องเพศศึกษาและทักษะชีวิต การเข้าถึงบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นที่สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : 1. ส่งเสริมให้วัยรุ่นมีความรอบรู้เรื่องเพศศึกษาและทักษะชีวิต การเข้าถึงบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นที่สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของวัยรุ่น
0.00

 

2 2. เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและลดการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : 2. ป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและลดการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น
0.00

 

3 3. เพื่อเสริมสร้างจิตสำนึกการรู้จักป้องกัน หรือลดพฤติกรรมเสี่ยงด้านอนามัยเจริญพันธุ์ เอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ตัวชี้วัด : 3. เสริมสร้างจิตสำนึกการรู้จักป้องกัน หรือลดพฤติกรรมเสี่ยงด้านอนามัยเจริญพันธุ์ เอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 381
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 381
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้วัยรุ่นมีความรอบรู้เรื่องเพศศึกษาและทักษะชีวิต การเข้าถึงบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นที่สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของวัยรุ่น (2) 2. เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและลดการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น (3) 3. เพื่อเสริมสร้างจิตสำนึกการรู้จักป้องกัน หรือลดพฤติกรรมเสี่ยงด้านอนามัยเจริญพันธุ์ เอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดเตรียมโครงการ และเตรียมอุปกรณ์ (2) อบรมให้ความรู้และอบเชิงปฏิบัติการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


วัยรุ่นยุคใหม่ รักปลอดภัย ใส่ใจอนาคต จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2566-L7161-02-21

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวปรารถนา ธัมมากาศ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด