กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์อนุรักษ์ปลูกสมุนไพรเพื่อสุขภาพตำบลเปียน ประจำปี 2566
รหัสโครงการ 66-L5260-10(2)
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มชมรมปลูกสมุนไพรเพื่อสุขภาพตำบลเปียน
วันที่อนุมัติ 18 กันยายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2566 - 31 ตุลาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2566
งบประมาณ 25,690.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ 1.นายเจะยิ เจะแต 2.นายอดุลย์ เลาะดีเยาะ
พี่เลี้ยงโครงการ นายอารีย์ วานิ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเปียน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.634,101.003place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ค. 2566 31 ต.ค. 2566 25,690.00
รวมงบประมาณ 25,690.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จานการณ์ความผันผวนและมีการเปลี่ยนแปลงของโลก (VUCA World) ประกอบกับผลกร แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVD - ๑๙) ต่อการดำรงชีวิตของประชาชน และระบบการแพทย์และการ สาธารณสุขทั่วโลก ทำให้ทุกประเทศทั่วโลกตระหนักถึงความมั่นคงและความยั่งยืนทางยาชื่งยาจากสมุนไพร เป็นอีกหนึ่ง ความหวัง ดังจะเห็นได้จากหลายประเทศเร่งค้นหาและศึกษาวิจัยยาจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ซึ่งประเทศไทยถือว่าเป็น แหล่งกำเนิดของสมุนไพรที่หลากหลาย มีภูมิปัญญาการใช้สมุนไพรเป็นยารักษาโรคมายาวนาน มีนักวิทยาศาสตร์ที่มีความรู้ ความสามารถ รวมทั้งมีนโยบายส่งเสริมการพัฒนายจากสมุนพรเพื่อการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน เป็นผลให้ประชาชนหันมา ดูแลใส่ใจสุขภาพของตนเองและครอบครัวด้วยการบริโภคสมุนไพรมากขึ้น เช่น ฟ้าทะลายโจร กระชาย เป็นต้น ทำให้ สมุนไพรเป็นที่นิยม และมีความต้องการเพิ่มขึ้น แต่การใช้สมุนไพรนั้น หากนำมาใช้ไม่ถูกวิธีหรือไม่เหมาะสมแล้ว จาก คุณประโยชน์ อาจกลายเป็นโทษได้เช่นเดียวกัน การมีความรู้เกี่ยวกับการใช้สมุนไพรจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง สำหรับพื้นที่ ในแต่ละท้องถิ่นนั้น ถือว่ามีความหลากหลายทางระบบนิเวสสูง มีพืชพรรณสมุนไพรนานาพรรณที่สามารถ ให้ประโยชน์ ทางด้านโภซนาการ มีคุณค่าทางอาหาร และสิ่งที่สำคัญยิ่งคือภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวบ้านที่สืบทอดกันมานาน จน กลายเป็นอัตลักษณ์ท้องถิ่น อย่างไรก็ตาม องค์ความรู้ทางด้านพืชพรรณสมุนไพรดังกล่าวยังชาดการถ่ายทอดให้เด็ก เยาวชน และประชาชนในชุมชนเท่าที่ควร ทำให้ไม่มีผู้สืบทอดภูมิปัญญาด้านการใช้สมุนไหรท้องถิ่นจากบรรพบุรุษ คนรุ่นหลังขาด ความเข้าใจเรื่องสมุนไพร ชนิดของพืชสมุนไพร สรรพคุณและการใช้ประโยชน์ ทั้งยังชาดการสนับสนุนก การขยายพันธุ์พืซสมุนไพร เนื่องจากสมุนไพรบางชนิดได้มาจากบำธรรมชาติ แต่ชุมชนมีการบุกรุกมีการตัดไม้ทำลายป่า อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้สมุนไพรในชุมชน ลดน้อยลง บางชนิดสูญหายไป หรืออาจหาได้ยากขึ้น ทางชมรมปลูกสมุนไพรเพื่อ สุขภาพตำบลเปียน เล็งเห็นถึงความสำคัญของการอนุรักษ์ และการใช้สมุนไพรไทยและสมุนไหร ท้องถิ่นให้กิดประโยชน์ นุรักษ์ภูมิปัญญาไทย จึงได้ดำเนินโครงการรณรงค์อนุรักษ์ปลูกสมุนไพรเพื่อสุขภาพตำบลเปียน เนื่ เฉลิมพระชนมพรรษา ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๖ ขึ้น เพื่อร่วมแสดงความจงรักภักดีและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ที่ได้ทรง ปฏิบัติพระราชกรณียกิจนานัปการตลอดจนเพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีแหล่งเรียนรู้สวนสมุนไพร ให้เด็ก เยาวชน และประชาชนในชุมชน ไต้เห็นคุณค่าของสมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชน รวมทั้งเป็นประโยชน์ต่อการรักษาสุขภาพ การอนุรักษ์ และการใช้สมุนไพรท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์ โดยน้อมนำ "หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง" ที่พระบาทสมเด็จกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานไว้ มาปรับใช้ในยังมีความสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs)

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ประชาชนมีความรู้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง ๒. ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นเกี่ยวกับชนิดของพืชพรรณสมุนไพร สรรพคุณและการใช้ประโยชน์ ๓. ส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประซาชนในชุมชน มีความรู้เรื่องพืชพรรณสมุนไพรไทย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ก.ย. 2566 10:16 น.