กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มทักษะชีวิตในสถานการณ์ฉุกเฉินของเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดบ้านป่าระไม
รหัสโครงการ 66-L5174-103-005
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดบ้านป่าระไม
วันที่อนุมัติ 29 พฤศจิกายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2566 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 20 กันยายน 2567
งบประมาณ 6,350.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสุไหลขอ เหล็มโส๊ะ
พี่เลี้ยงโครงการ นายธนพนธ์ จรสุวรรณ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลขุนตัดหวาย อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานความปลอดภัยทางถนน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ธ.ค. 2566 30 ก.ย. 2567 6,350.00
รวมงบประมาณ 6,350.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 47 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อายุ 3-5 ปี ขาดทักษะในการช่วยเหลือตนเองเมื่อติดอยู่ในรถยนต์
90.00
2 ร้อยละของผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อายุ 3-5 ปี ที่ยังขาดความรู้ในการที่จะช่วยเหลือเด็กหรือป้องกันเด็กติดในรถ
70.00
3 ร้อยละของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อายุ 3-5 ปี ที่ยังขาดความรู้ในการเอาตัวรอดเมื่อเกิดอัคคีภัย
50.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้วิธีการเอาตัวรอดเมื่อติดอยู่ในรถยนต์ 2.เพื่อให้เด็กปฐมวัยรู้วิธีปลดล๊อคประตูเมื่อติดอยู่ในรถ 3.เพื่อให้ครูและผู้ปกครองได้เรียนรู้วิธีการทำงานของแตรรถยนต์ สัญญาณไฟฉุกเฉิน ระบบล็อกประตูเพื่อสอนให้เด็กเอาตัวรอด 4.เพื่อให้เด็กปฐมวัยรู้จักวัสดุอุปกรณ์ที่ทำให้เกิดไฟไหม้ 5.เพื่อให้เด็กรู้วิธีการเอาตัวรอดเมื่อเกิดอัคคีภัย

1.เด็กปฐมวัยสามารถเอาตัวรอดโดยวิธีการอย่างใคอย่างหนึ่งเมื่อติดอยู่ในรถ 2.เด็กปฐมวัยรู้วิธีปลดล๊อคประตูเมื่อติดอยู่ในรถ 3.ครูและผู้ปกครองได้เรียนรู้วิธีการทำงานของแตรรถยนต์ สัญญาณไฟฉุกเฉินระบบล็อกประตูเพื่อสอนให้เด็กเอาตัวรอด4.เด็กปฐมวัยรู้จักวัสดุอุปกรณ์ที่ทำให้เกิดไฟไหม้ได้ 5.เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้วิธีการเอาตัวรอดเมื่อเกิดอัคคีภัย

70.00 10.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 6,350.00 0 0.00
1 ก.ค. 67 ประชุมคณะทำงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดบ้านป่าระไมเพื่อวางแผนการดำเนินงาน 0 0.00 -
8 ก.ค. 67 อบรมเชิงปฏิบัติการ 0 3,450.00 -
18 ก.ค. 67 ป้องกันอัคคีภัยในเด็กปฐมวัย 0 2,900.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กปฐมวัยสามารถเอาตัวรอดโดยวิธีการอย่างใคอย่างหนึ่งเมื่อติดอยู่ในรถ 2.เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้วิธีปลดล๊อคประตูเมื่อติดอยู่ในรถ 3.ครูและผู้ปกครองได้เรียนรู้วิธีการทำงานของแตรรถยนต์ สัญญาณไฟฉุกเฉินระบบล็อกประตูเพื่อสอนให้เด็กเอาตัวรอด4.เด็กปฐมวัยรู้จักวัสดุอุปกรณ์ที่ทำให้เกิดไฟไหม้ได้ 5.เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้วิธีการเอาตัวรอดเมื่อเกิดอัคคีภัย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ก.ย. 2566 00:00 น.