กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนร่วมใจต้านภัยยาเสพติด
รหัสโครงการ 67-L3013-02-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมเยาวชนบ้านจือโระ
วันที่อนุมัติ 26 ตุลาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 4 พฤศจิกายน 2566 - 12 พฤศจิกายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 12 ธันวาคม 2566
งบประมาณ 38,950.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอับดุลรอยะ เงาะ
พี่เลี้ยงโครงการ นายอับดุลกอเดร์ การีนา
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสิ่งเสพติด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เนื่องด้วยบ้านจือโระ หมู่ที่ ๖ ตำบลบานา เป็นพื้นที่หนึ่งที่มีกลุ่มเด็กและเยาวชนในพื้นที่มีภาวะเสี่ยง ที่จะเผชิญกับปัญหา ยาเสพติด เด็กติดเกมส์ออนไลน์ และเด็กหยุดเรียนก่อนที่จะจบการศึกษาภาคบังคับ ซึ่งสาเหตุส่วนหนึ่งเกิดจากปัญหาการรับสื่อจากสื่อโซเชียวมีเดีย เกิดการอยากรู้ อยากเห็น อยากลอง ความคึกคะนอง และการขาดความรู้ความเข้าใจและขาดการชี้แนะจากผู้ปกครองถึงโทษภัยที่จะเกิดขึ้นเมื่อติดยาเสพติดและอบายมุขเหล่านั้นขึ้นมา

ดังนั้น ทางชมรมเยาวชนบ้านจือโระ จึงเห็นว่าควรมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการจัดกิจกรรมเสริมความรู้ให้กับกลุ่มเด็กและเยาวชนในพื้นที่เพื่อเป็นการเสริมสร้างเกราะภูมิคุ้มกัน เพื่อเสริมความรู้ทางด้านสุขภาวะ ทางปัญญา โดยให้มีการฝึกอบรมรับฟังการบรรยายเกี่ยวกับโทษภัยของยาเสพติดและอบายมุขจากวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถเพื่อให้กลุ่มเด็กและเยาวชนมีสุขภาพที่ดีทางด้านจิตใจ ทางด้านร่างกาย และทางด้านสติปัญญา และเพื่อให้กลุ่มเด็กและเยาวชนได้ห่างไกลจากยาเสพติดและอบายมุขในพื้นที่ต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเสริมสร้างสุขภาพของกลุ่มเด็กและเยาวชนให้มีสุขภาพที่ดีขึ้น

ร้อละ 90 เยาวชนมีสุขภาพที่ดีขึ้น รับมือกับปัญหาต่าง ๆได้

0.00
2 เพื่อสร้างปัญญาและภูมิคุ้มกันในตัวเองให้กับกลุ่มเด็กและเยาวชน

ร้อยละ 90 เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งเสพติดและอบายมุขต่างๆ และมีภูมิคุ้มกันให้กับตัวเอง

0.00
3 เพื่อให้กลุ่มเด็กและเยาวชนได้ทราบถึงโทษภัยจากยาเสพติดและอบายมุข

ร้อยละ 100 เยาวชนรู้จักโทษของยาเสพติด และความผิดทางคดียาเสพติด

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อเสริมสร้างสุขภาพของกลุ่มเด็กและเยาวชนให้มีสุขภาพที่ดีขึ้น

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อสร้างปัญญาและภูมิคุ้มกันในตัวเองให้กับกลุ่มเด็กและเยาวชน

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : เพื่อให้กลุ่มเด็กและเยาวชนได้ทราบถึงโทษภัยจากยาเสพติดและอบายมุข

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

4 - 5 พ.ย. 66 กิจกรรมอบรมเสริมความรู้ต้านภัยยาเสพติด 85.00 30,700.00 -
5 - 12 พ.ย. 66 กิจกรรมอาสาบำเพ็ญประโยชน์ 85.00 8,250.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. กลุ่มเยาวชนมีสุขภายทางใจ ทางกาย และทางสติปัญญาที่ดีขึ้น สามารถเผชิญกับภาวะเสี่ยงต่อสิ่งเสพติด และอบายมุขได้

2.กลุ่มและเยาวชนรู้เท่าทันสื่อโซเชียวมีเดีย และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น

3.กลุ่มและเยาวชนได้ทราบถึงปัญหาและโทษภัยของยาเสพติดมากยิ่งขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 ต.ค. 2566 00:00 น.